Message ANNUALANNUALREPORTREPORT20242024สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
ANNUAL REPORT2024A ในการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2567 และผลงานสําคัญอืนของสํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น) โดยมีองค์ประกอบหลักของรายงาน 4 ส่วน คือ ข้อมูล สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น) หวังเปนอย่างยิงว่า รายงานประจําป 2567 นีจะเปนรายงานทีแสดงต่อสาธารณะให้เห็นถึงความมุ่งมัน และความตังใจของเจ้าหน้าที เพือผลการปฏิบัติงานเปนประโยชน์ต่อประเทศชาติยกระดับคุณภาพชีวิตทีดีของประชาชนและส่งผลต่อส่วนรวมทังในปจจุบันและอนาคต สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น) ได้จัดทํารายงานประจําปเพือประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ ผลการปฏิบัติราชการ ผลการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพภาพรวมของหน่วยงาน ผลการปฏิบัติราชการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2567 ผลงานสําคัญอืน และการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2567คํานํา
ANNUAL REPORT2024สารบัญคํานําสารบัญข้อมูลภาพรวมของหน่วยงานผลการปฏิบัติราชการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2567กิจกรรมสําคัญงบประมาณรายจ่ายและผลการใช้จ่ายงบประมาณประจําปงบประมาณ พ.ศ.2567AB83178การประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 256784Bพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย (งบ พ.ร.บ.)พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย (งบเบิกแทนกัน)พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย (งบกลาง)เงินนอกประมาณ10657274
ข้อมูลภาพรวมของหน่วยงานANNUAL REPORT2024 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น) เปนหน่วยงานในสังกัดของกรมปาไม้ทีมีสํานักงานตังอยู่ในส่วนภูมิภาค โดยยึดหลักการบริหารจัดการทรัพยากรปาไม้ให้มันคงและยังยืน สนับสนุนพันธกิจของกรมปาไม้เพือให้สอดคล้องกับนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนงานต่าง ๆ ทีเกียวข้องทําหน้าทีจัดทําแผน กํากับ ติดตาม ประเมินผลและดําเนินการจัดการเกียวกับการจัดการทรัพยากรปาไม้ในพืนทีรับผิดชอบ ด้านงานปองกันและปราบปรามการบุกรุกทําลายทรัพยากรปาไม้ งานจัดการทีดินปาไม้งานส่งเสริมการปลูกปา งานจัดการปาชุมชน งานบริการด้านปาไม้ และอํานวยความสะดวกในการบริการประชาชน มีพืนทีรับผิดชอบ 5 จังหวัดคือ ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด และมุกดาหาร1รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
วิสัยทัศน์ ANNUAL REPORT2024เปนองค์กรทีมุ่งเน้นการรักษาปาเดิมเพิมปาใหม่ ใส่ใจประชาชน บนรากฐานนวัตกรรมและธรรมาภิบาล2รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
กํากับ ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานในพืนทีและรวบรวมเปนข้อเสนอแนะต่อกรมปาไม้และหน่วยงานทีเกียวข้องภารกิจและอํานาจหน้าทีดําเนินการเกียวกับ การจัดการทรัพยากรปาไม้ในพืนทีรับผิดชอบ ด้านงานปองกันการบุกรุกทําลายพืนทีบําไม้ งานจัดการทีดินบําไม้ งานวิจัยและพัฒนาด้านการปาไม้ งานส่งเสริมการปลูกปา งานจัดการบําชุมชน ตามกฎหมายว่าด้วยปาไม้ กฎหมายว่าด้วยปาสงวนแห่งชาติ กฎหมายว่าด้วยสวนปา กฎหมายว่าด้วยเลือยโซ่ยนต์ และกฎหมายอืนทีเกียวข้องANNUAL REPORT2024ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอืนที่เกียวข้องหรือทีได้รับมอบหมายจัดทําแผนเพือการบริหารจัดการทรัพยากรปาไม้ในพืนทีรับผิดซอบให้สอดคล้องตามเปาหมายและยุทธศาสตร์ของกรม จังหวัด และหน่วยงานทีเกียวข้อง3รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
ส่วนอํานวยการฝายบริหารทัวไปฝายการเงินและบัญชีฝายพัสดุฝายแผนงาน ติดตามและประเมินผลส่วนจัดการทีดินปาไม้ฝายบริหารทัวไปฝายกําหนดเขตทีดินปาไม้ฝายจัดการสิทธิ การใช้ทีดินปาไม้ฝายสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรปาไม้ฝายปานันทนาการส่วนปองกันรักษาปาและควบคุมไฟปาฝายบริหารทัวไปฝายปองกันรักษาปาฝายควบคุมไฟปาฝายส่งเสริมการมีส่วนร่วมด้านปองกัน และปราบปรามฝายกฏหมายส่วนส่งเสริมการปลูกปาฝายบริหารทัวไปฝายปลูกปาฝายผลิตกล้าไม้ฝายวิจัยและพัฒนาปาไม้ส่วนจัดการปาชุมชนฝายบริหารทัวไปฝายส่งเสริมการจัดการปาชุมชนฝายพัฒนาวนศาสตร์ชุมชนส่วนโครงการพระราชดําริและกิจการพิเศษฝายบริหารทัวไปฝายประสานงานโครงการพระราชดําริฝายส่งเสริมและพัฒนาตามแนวพระราชดําริศูนย์ปาไม้ 5 ศูนย์ฝายบริหารทัวไปฝายประสานและส่งเสริมงานปาไม้หน่วยปองกันและพัฒนาปาไม้ 16 หน่วยANNUAL REPORT2024โครงสร้างการบริหารหน่วยปองกันและพัฒนาปาไม้ภูเวียง หน่วยปองกันและพัฒนาปาไม้แวงใหญ่หน่วยปองกันและพัฒนาปาไม้มัญจาคีรีหน่วยปองกันและพัฒนาปาไม้เขาสวนกวางหน่วยปองกันและพัฒนาปาไม้ภูผาม่านสถานีเพาะชํากล้าไม้จังหวัดขอนแก่นสถานีเพาะชํากล้าไม้บ้านฝางสถานีเพาะชํากล้าไม้หนองนาคําสถานีเพาะชํากล้าไม้ชุมแพสถานีเพาะชํากล้าไม้แวงใหญ่หน่วยปองกันรักษาปา 5 หน่วยหน่วยฟนฟู/แปลงปลูกปา 29 แห่งสวนปา 3 แห่งหน่วยงานส่วนกลางสถานีวนวัฒนวิจัยที 5 (ขอนแก่น)ศูนย์เมล็ดพันธุ์ไม้ปาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ขอนแก่น)ศูนย์วิจัยและพัฒนาการใช้ประโยชน์ปาไม้ ที 5 (ขอนแก่น)ศูนย์ปองกันและปราบปรามที 2 (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) หน่วยปองกันและพัฒนาปาไม้ดงหลวงหน่วยปองกันและพัฒนาปาไม้หนองสูงหน่วยปองกันและพัฒนาปาไม้เมืองมุกดาหารโครงการฟาร์มตัวอย่างบ้านดอนม่วงพัฒนาอันเนืองมาจากพระราชดําริโครงการพัฒนาฟนฟูปาไม้บ้านห้วยตาเปอะและพืนทีลุ่มนําห้วยบางทรายตอนบนอันเนืองมาจากพระราชดําริ สถานีเพาะชํากล้าไม้จังหวัดมุกดาหารหน่วยปองกันรักษาปา 4 หน่วยหน่วยฟนฟู/แปลงปลูกปา 26 แห่งหน่วยงานส่วนกลางศูนย์ส่งเสริมการควบคุมไฟปามุกดาหารด่านปาไม้มุกดาหารหน่วยปองกันและพัฒนาปาไม้ห้วยเม็กหน่วยปองกันและพัฒนาปาไม้ห้วยผึงหน่วยปองกันและพัฒนาปาไม้สามชัยหน่วยปองกันและพัฒนาปาไม้ท่าคันโทหน่วยปองกันและพัฒนาปาไม้กุฉินารายณ์สถานีเพาะชํากล้าไม้จังหวัดกาฬสินธุ์สถานีเพาะชํากล้าไม้นามนสถานีเพาะชํากล้าไม้สามชัยสถานีวนวัฒนวิจัยกาฬสินธุ์หน่วยปองกันรักษาปา 5 หน่วยหน่วยฟนฟู/แปลงปลูกปา 18 แห่งสวนปา 3 แห่งกาฬสินธุ์มหาสารคามหน่วยปองกันและพัฒนาปาไม้กุดรังสถานีเพาะชํากล้าไม้จังหวัดมหาสารคามหน่วยปองกันรักษาปา 1 หน่วยสวนปา 1 แห่งหน่วยงานส่วนกลางศูนย์เพาะชํากล้าไม้มหาสารคามหน่วยปองกันและพัฒนาปาไม้หนองพอกหน่วยปองกันและพัฒนาปาไม้พนมไพรสถานีเพาะชํากล้าไม้จังหวัดร้อยเอ็ดโครงการพัฒนาปาไม้ทุ่งกุลาร้องไห้ ที 1โครงการฟนฟูปาหนองเหมือดแอ่อันเนืองมาจากพระราชดําริหน่วยปองกันรักษาปา 2 หน่วยหน่วยฟนฟู/แปลงปลูกปา 4 แห่งสวนปา 2 แห่งร้อยเอ็ดมุกดาหารหน่วยงานภาคสนามขอนแก่นสํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)ส่วนการอนุญาตฝายบริหารทัวไปฝายอนุญาตใช้ประโยชน์พืนทีปาไม้ฝายอนุญาต ของปา และอุตสาหกรรมไม้4รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
นายดนัย โคตรุชัยผู้อํานวยการศูนย์ปาไม้กาฬสินธฺุ์นายปัญญา บุตะกะผู้อํานวยการศูนย์ปาไม้มหาสารคามนายพงศพยัคฆ ศรียาผู้อํานวยการสํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7ผู้บริหารANNUAL REPORT2024สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)นายสุมน นําพูลสุขสันติ์ผู้อํานวยการส่วนอํานวยการผู้อํานวยการส่วนจัดการปาชุมชนนางกฤษณา จตุรสุขสกุลผู้อํานวยการส่วนส่งเสริมการปลูกปานายอดิศักดิ์ ภูมิภาคผู้อํานวยการส่วนการอนุญาตนายครรชิต โลหคําผู้อํานวยการส่วนจัดการทีดินปาไม้นายไชยา คลายคลึงผู้อํานวยการศูนย์ปาไม้ขอนแก่นนายพรภิรมณ อุระแสงผู้อํานวยการศูนย์ปาไม้มุกดาหารนายพัลลภ หนูเสนผู้อํานวยการศูนย์ปาไม้ร้อยเอ็ดนายดนัย นิลคูหาผู้อํานวยการส่วนปองกันรักษาปาและควบคุมไฟปานายเชาวฤทธิ์ รอบรูนางรืนฤดี วนัสกุลผู้อํานวยการส่วนโครงการพระราชดําริและกิจการพิเศษ5รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
พืนทีรับผิดชอบ 764,304.61 ไร่11.47%131,620.08 ไร่ 3.76%218,934.43 ไร่4.45%0.00 2.00 4.00 6.00 8.00 10.00 12.002556255725582559256025612562256325642565256610.9310.9410.9511.0511.0811.0711.092,405,675.492,406,528.772,408,095.002,430,848.142,438,671.742,435,862.022,440,491.99ทีมา:บทสรุปสําหรับผู้บริหาร โครงการจัดทําข้อมูลสภาพพืนทีปาไม้ป พ.ศ. 2566 กรมปาไม้2,439,347.14ANNUAL REPORT2024845,506.36 ไร่32.79%474,048.44 ไร่10.93%2.44 ไร่สภาพพืนทีปาไม้พื้นที่ปาไมพื้นที่ปาไม 22M ไร่เนือทีจังหวัด4.3M ไร่พืนทีปาสงวนแห่งชาติ(ตามประกาศท้ายกฏ)10.8710.952,391,034.332,408,923.42ขอนแก่นกาฬสินธุ์ร้อยเอ็ดมหาสารคามมุกดาหาร11.0911.096รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)2,434,413.9211.06
อัตรากําลังไปช่วยราชการมาช่วยราชการข้าราชการ ลูกจ้างประจํา411772ANNUAL REPORT20240 50 100 150 200 250 300ข้าราชการลูกจ้างประจําพนักงานราชการพนักงานจ้างเหมา603285ข้าราชการพนักงานราชการลูกจ้างประจํา31จ้างเหมาบร การข้าราชการลูกจ้างประจํา พนักงานราชการ จ้างเหมาบริการรวม605 328314337รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
ความเชือมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงานแผนที 18 การเติบโตอย่างยังยืนแผนที 19 การบริหารจัดการนําทังระบบแผนที 23 การวิจัยและนวัตกรรมประเด็นที 6 ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อม ประเด็นที 9 ด้านสิงแวดล้อมประเด็นที 10 ด้านพลังงานANNUAL REPORT2024แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที 13 (พ.ศ. 2566–2570 และ 2565)ประเด็นที 19 การรักษาความมันคงด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อม แผนปฏิบัติราชการกรมปาไม้ ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2561-2580) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2561–2580) แผนการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ที ๔ :การเติบโตทีเปนมิตรกับสิงแวดล้อมเพือการพัฒนาอย่างยังยืนแผนระดับชาติว่าด้วยความมันคงแห่งชาติ (พ.ศ. 2566 -2570) แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2561–2580)ยุทธศาสตร์ ที 5 ด้านการสร้างการเติบโตทีเปนมิตรกับสิงแวดล้อมแผนระดับที แผนแม่บท กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อม ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2561 – 2580)ด้านที 1 จัดการปาไม้และความหลากหลายทางชีวภาพด้านที 4 เสริมสร้างความเข้มแข็ง ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อมเพือการพัฒนาในระดับภูมิภาคแผนระดับที แผนระดับที ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตทีเปนมิตรกับสิงแวดล้อมยุทธศาสตร์จัดสรรแผนงานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศยุทธศาสตร์สร้างการเติบโตอย่างยังยืนอนุรักษ์ฟนฟู และปองกันการทําลายทรัพยากรธรรมชาติพืนฐานด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตทีเปนมิตรกับสิงแวดล้อมด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ8รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
งบประมาณภาพรวมทีได้รับการจัดสรร 0.00 20,000,000.00 40,000,000.00 60,000,000.00 80,000,000.00 100,000,000.002558255925602561256225632564256525662567ANNUAL REPORT2024รวมงบประมาณ 123,883,412.00 บาทสถิติงบประมาณรายจ่ายประจําป 10 ป ย้อนหลังงบ พ.ร.บ.80,840,112.00งบเงินนอก22,406,860.00งบเบิกแทนกัน19,151,440.00งบกลาง1,485,000.00แหล่งงบประมาณ2567แผนงานยุทธศาสตร์แผนงานพืนฐาน9งบดําเนินงานงบลงทุน8,480,876.0040,204,221.00งบดําเนินงานงบลงทุนงบเงินอุดหนุนงบรายจ่ายอืน6,115,300.0017,321,515.006,488,000.002,230,200.00รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
ผลการปฏิบัติราชการผลการปฏิบัติราชการประจําปงบประมาณประจําปงบประมาณพ.ศ. 2567พ.ศ. 2567ตามพระราชบัญญัติตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายงบประมาณรายจ่าย(งบ พ.ร.บ.)(งบ พ.ร.บ.)ANNUAL REPORT2024
ANNUAL REPORT2024 สาระสําคัญแผนงานพืนฐานด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตทีเปนมิตรับสิงแวดล้อมมหาสารคาม11ร้อยเอ็ด21301มุกดาหาร70496รวม1891,598กาฬสินธุ์54400ขอนแก่น33356จังหวัดคดีไม้ท่อน(ท่อน/ลบ.ม.)05.464-1-0160425-1-7424.64599-1-26299.77160-3-2449.928-3-2859.75พืนทีบุกรุก(ไร่-งาน-ตรว.)ไม้แปรรูป(แผ่น/ลบ.ม.) ผลการดําเนินงานกิจกรรมหลักปองกันรักษาปากิจกรรมปองกันและปราบปรามการบุกรุกทําลายทรัพยากรปาไม้ ปาไม้เปนทรัพยากรธรรมชาติทีมีคุณค่ายิงต่อมนุษย์และสิงแวดล้อม อีกทังยังเปนฐานการพัฒนาประเทศทุกด้านเนืองจากทรัพยากรปาไม้สามารถอํานวยประโยชน์ต่อเศรษฐกิจสังคมและสิงแวดล้อมของประเทศและยังมีความสัมพันธ์กับวิถีชีวิต วัฒนธรรม และความเปนอยู่ของคนในสังคมและสิงแวดล้อมของประเทศการปองกันและปราบปรามการบุกรุกทําลายทรัพยากรปาไม้จึงเปนภารกิจหลักของกรมปาไม้ทีต้องปฏิบัติให้เปนไปตามระเบียบและกฎหมายทีเกียวข้อง เพือปกปอง รักษาทรัพยากรปาไม้ของชาติให้ดํารงอยู่คู่ชาติไทยตลอดไป4.ประสานงานเพือสนับสนุนข้อมูลการข่าวและบูรณาการร่วมกับ หน่วยงานอืนทีเกียวข้อง 12 ครัง2.ออกลาดตระเวนตามแผน 1,377,206 ไร่1.วางแผนและแนวทางการลาดตระเวนในพืนทีรับผิดชอบ 12 ครัง3.สรุปผลการลาดตระเวนและรายงานผลให้ต้นสังกัด 12 ครัง5.เผยแพร่ประชาสัมพันธ์และบริการสาธารณะเพือให้ราษฎร มีความรู้ความเข้าใจในการอนุรักษ์ทรัพยากรปาไม้ 12 ครัง6.ซ่อมแซมรถยนต์ราชการ จํานวน 4 คัน -หน่วยปองกันรักษาปาที ขก.5 (ภูผาม่าน) ทะเบียน 1 ฒฎ 2954 กทม. -หน่วยปองกันรักษาปาที กส.2 (ดงแม่เผด) ทะเบียน ฒฎ 2246 กทม. -หน่วยปองกันรักษาปาที มห.2 (ดงหลวง) ทะเบียน 2 ฒร 934 กทม -ส่วนปองกันรักษาปาและควบคุมไฟปา ทะเบียน 3 ฒณ 8263 กทม ผลผลิต พืนทีปาไม้ได้รับการบริหารจัดการ3611 รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
กิจกรรมหลักจัดการทีดินปาไม้กิจกรรมจัดการทีดินปาไม้ANNUAL REPORT2024 ผลการดําเนินงาน สาระสําคัญงานอํานวยการ และการติดตามผลการดําเนินงานในพืนทีรับผ ิดชอบ 5 จังหวัด ดังนี จังหวัดกาฬสินธุ์1. 2. จังหวัดขอนแก่น 3. จังหวัดมหาสารคาม 4. จังหวัดมุกดาหาร 5. จังหวัดร้อยเอ็ด12 ในพืนทีปาสงวนแห่งชาติ มีราษฎรครอบครองทํากินกระจายอยู่โดยทัวไป ทําให้เกิดความขัดแย้ง ในการใช้ทรัพยากรทีดินและปาไม้ ซึงจากปญหาดังกล่าวรัฐจึงมีความจําเปนต้องสงวนและคุ้มครองทรัพยากรปาไม้ของชาติ และในขณะเดียวกันต้องดูแลช่วยเหลือราษฎร ในเรืองทีอยู่อาศัยและทํากินด้วย ดังนัน จึงต้องดําเนินการจัดการทีดินในเขตปาสงวนแห่งชาติอย่างเปนระบบ เน้นด้านการอนุรักษ์ควบคู่กับการพัฒนาอย่างยังยืน อยู่บนหลักการลดปญหาความขัดแย้งการใช้ทรัพยากรทีดินและปาไม้ โดยดําเนินการแก้ไขปญหาทีดินในพืนทีป าไม้ให้ราษฎรสามารถอยู่ได้อย่างถูกต้องเปนหลักแหล่งเหมาะสม ควบคุมมิให้มีการบุกรุกขยายพืนที โดยดําเนินการตามมติคณะรัฐมนตรีเมือวันที 30 มิถุนายน 2541 นําข้อมูลมาใช้ในการบริหารจัดการพืนทีปาไม้ตามระเบียบและกฎหมายต่อไปรายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
กิจกรรมโครงการจัดการปาสงวนแห่งชาติANNUAL REPORT2024 ทรัพยากรนันทนาการ หมายถึง สิงทีเกิดขึนเองตามธรรมชาติและสิงทีมนุษย์สร้างขึนทีสามารถนํามาใช้ประโยชน์ เพือการประกอบกิจกรรมนันทนาการซึงปจจุบันมีแนวโน้มการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรนันทนาการดังกล่าวเพิมขึนอย่างต่อเนือง อันเปนเหตุของการพัฒนาทางกายภาพเพือรองรับปริมาณการใช้ประโยชน์ทีเพิมขึน โดยใช้กระบวนการศึกษาข้อมูลและวางแผนเกียวกับฐานทรัพยากรอย่างเปนระบบ ทําให้การพัฒนาดังกล่าวเกินขีดความสามารถของพืนทีทีจะรองรับได้ เปนผลให้ทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อมรวมทังระบบนิเวศถูกทําลายและมีสภาพเสือมโทรมในทีสุด โดยทีปรากฏว่าในพืนทีปาสงวนแห่งชาติรวมทังพืนทีปาตามพระราชบัญญัติปาไม้พุทธศักราช 2484 ทีอยู่ในความรับผิดชอบของกรมปาไม้มีทรัพยากรนันทนาการทางธรรมชาติเปนจํานวนมาก ได้แก่ พืนทีธรรมชาติในลักษณะต่าง ๆ รวมถึงทัศนียภาพทีมีความงดงามโดดเด่นทีเชือมต่อการพักผ่อนหย่อนใจ การศึกษาธรรมชาติหรือการประกอบกิจกรรมนันทนาการรูปแบบต่าง ๆ ซึงพืนทีแหล่งทรัพยากรนันทนาการดังกล่าว สมควรทีจะต้องได้รับการบริหารจัดการอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ และศักยภาพของพืนทีภายใต้ระเบียบและกฎหมายเพือเปนการควบคุมปองกันรักษา และอนุรักษ์ทรัพยากรปาไม้และสิงแวดล้อมให้คงอยู่ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถินและหน่วยงานทีเกียวข้อง ประสานการดําเนินงานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถินและผู้นําชุมชนทีเกียวข้อง โดยสํารวจแหล่งท่องเทียวทางธรรมชาติเพือพัฒนาให้เปนแหล่งเรียนรู้และนันทนาการ ในการเสนอโครงการพิจารณาพืนทีประกาศจัดตังปานันทนาการ จํานวน 1 แห่ง คือ ผาหําหด ท้องทีตําบลคําพอุงอําเภอโพธิชัย จังหวัดร้อยเอ็ด ผลการดําเนินงาน สาระสําคัญ13 รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
ดําเนินการบริการประชาชนและหน่วยงานต่างๆในการตรวจสอบ (เอกสาร หลักฐาน สถานที) ออกใบอนุญาต (หลักฐานการอนุญาต) และควบคุมกํากับเกียวกับการอนุญาตประเภทต่าง ๆ ตามทีกฎหมายปาไม้กําหนด ได้แก่ การอนุญาตอุตสาหกรรมไม้ การอนุญาตทําไม้ เก็บหาครอบครองไม้ และของปา การค้าของปาหวงห้าม การอนุญาตใช้ประโยชน์พืนทีปาไม้ โดยดําเนินการทังในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคเพือให้ประชาชนและหน่วยงานต่าง ๆ ได้รับบริการอย่างทัวถึงและเปนไปตามนโยบาย เงือนไข หลักเกณฑ์ ประกาศ ระเบียบ ข้อกําหนดกฎกระทรวงและกฎหมายทีเกียวข้อง ผลการดําเนินงาน สาระสําคัญกิจกรรมหลักบริการงานปาไม้กิจกรรมบริการด้านการอนุญาตANNUAL REPORT202414รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)1. ตรวจสอบการขออนุญาตประกอบกิจการด้านอุตสาหกรรมไม้ทุกประเภท จํานวน 68 ราย2. ตรวจสอบกิจกรรมอุตสาหกรรมไม้ทุกประเภท จํานวน 255 ราย3. ตรวจสอบการขออนุญาตให้เข้าทําประโยชน์ในเขตพืนทีปาไม้ จํานวน 30 ราย4. ตรวจสอบและติดตามเงือนไขการอนุญาตให้เข้าทําประโยชน์ในเขตพืนทีปาไม้ จํานวน 36 ราย5. ตรวจวัดประทับตราไม้การขออนุญาตทําไม้ทุกประเภท จํานวน 18 ราย6. ตรวจสอบการขออนุญาตทําไม้ในทุกประเภท จํานวน 18 ราย
สาระสําคัญ ผลการดําเนินงาน ส่วนอํานวยการ สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)เปนหน่วยงานสนับสนุน การปฏิบัติงานของหน่วยงานต่างๆ เพือให้หน่วยงานต่างๆ เพือให้ทุกหน่วยงานสามารถดําเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทังงานด้านการจัดทําแผนงาน งบประมาณ จัดทําแผนปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายเงิน การติดตามและประเมินผลงานอืนๆทีได้รับมอบหมาย- บริหารงานทัวไปของหน่วยงานภายใต้สังกัด จํานวน 6 แห่ง- ติดตามผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายเงิน ประเมินผลการปฏิบัติ ราชการของสํานักฯ ในภาพรวม- บริหารจัดการค่าสาธารณูปโภค จํานวน 36 หน่วยปฏิบัติ- จ้างเหมาพนักงานทําความสะอาด จํานวน 1 อัตรา- บริการประชาชนรับเรืองร้องเรียน ร้องทุกข์ จํานวน 24 เรืองกิจกรรมหลักบริหารจัดการงานปาไม้กิจกรรมอํานวยการงานแผนงานและสารสนเทศANNUAL REPORT202415รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
หน่วยงานในสังกัดสํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น) ได้รับการสนับสนุนการเพิมศักยภาพการจัดการงานปาไม้ และสามารถดําเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ รายละเอียดดังนี- ก่อสร้างอาคารสํานักจัดการทรัพยาการปาไม้ที 7 (ขอนแก่น) จํานวน 1 หลัง (อยู่ระหว่างดําเนินการ)- ปรับปรุงอาคารสํานักงานศูนย์ปาไม้ขอนแก่น จํานวน 1 หลัง- ปรับปรุงซ่อมแซมอาคารสํานักงานศูนย์ปาไม้กาฬสินธุ์ จํานวน 1 หลัง สาระสําคัญ ผลการดําเนินงาน สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น) เปนหน่วยงานส่วนกลางทีตังอยู่ส่วนภูมิภาคทีมีบทบาทหน้าทีในการปองกันรักษาปาไม้ ให้มีความสมดุลระหว่างการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์ด้านปาไม้ได้อย่างสมดุลอย่างยังยืน โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนและทุกภาคส่วน ทังนีให้เปนไปตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 43 50 57 58 และ 72 กําหนดให้บุคคลมีสิทธิและหน้าทีในการบํารุงรักษาและใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อม โดยต้องให้ความร่วมมือและสนับสนุนการอนุรักษ์และคุ้มครองทรัพยากรธรรมชาติ และรัฐต้องอนุรักษ์คุ้มครอง บริหารจัดการให้มีการใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อมให้เกิดประโยชน์อย่างสมดุลและยังยืน รวมทังดําเนินการตามแผนการใช้ทีดินของประเทศให้เหมาะสมกับสภาพของพืนทีให้มีมาตรการกระจายการถือครองทีดินให้ประชาชนสามารถมีทีทํากินได้อย่างทัวถึงและเปนธรรม และเพือให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ 20 ป พ.ศ. 2561-2580 ยุทธศาสตร์ที 5 ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตทีเปนมิตรต่อสิงแวดล้อม ให้มีพืนทีปาไม้และพืนทีสีเขียวไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของพืนทีประเทศ และแผนปฏิรูปประเทศ ด้านทรัพยากรธรรมชาติ กําหนดให้เพิมสัดส่วนพืนทีปาไม้ ลดอัตราการบุกรุกพืนทีปาไม้ และเพิมผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคปาไม้ของประเทศ มีแนวทางการดําเนินงานด้านต่างๆ เช่น การปองกันและปราบปรามการบุกรุกทําลายทรัพยากรปาไม้การส่งเสริมการไม้เศรษฐกิจ(ไม้มีค่า) การส่งเสริมการสร้างปาชุมชน การจัดการทีดินปาไม้การเพิมพืนทีสีเขียวในเขตเมืองและชนบท การบริหารจัดการทรัพยากรปาไม้ เปนต้น การเพิมศักยภาพการจัดการงานปาไม้ เพือให้การดําเนินงานของสํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น) บรรลุตามเปาหมายวัตถุประสงค์เกิดประโยชน์สูงสุด และการปฏิบัติงานของหน่วยงานต่างๆ ในสังกัดสํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น) สามารถดําเนินงานได้อย่างเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพต่อไปกิจกรรมโครงการเพิมศักยภาพการจัดการงานปาไม้ANNUAL REPORT202416รายงานประจําป 2567สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
สาระสําคัญ ผลการดําเนินงาน กรมปาไม้ ได้นําระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารมาประยุกต์ใช้ในองค์กรโดยมีการติดตังเครืองคอมพิวเตอร์แม่ข่ายสําหรับรองรับระบบงานต่าง ๆ รวมถึงมีการเชือมโยงระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทังภายในอาคารและเครือข่ายสือสารไปยังหน่วยงานย่อยต่างๆในสังกัดเพือสนับสนุนการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ รวดเร็วและทันสมัยและสามารถให้บริการแก่หน่วยงานภายนอกและแก่ประชาชนทัวไป เพือให้สอดคล้องตามนโยบาย e-Government ของรัฐบาล ดังนัน เพือให้การใช้งานระบบคอมพิวเตอร์และระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีความมันคงและปลอดภัยจึงต้องปรับปรุงประสิทธิภาพอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์และจัดหาระบบรักษาความปลอดภัยเครือข่ายคอมพิวเตอร์รวมทังการบํารุงรักษาห้องให้ปฏิบัติการ ระบบเครือข่ายและอุปกรณ์ระบบไฟฟาและเครืองปรับอากาศห้องระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และทดแทนอุปกรณ์ทีเกียวข้องให้เพียงพอต่อการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพได้อย่างต่อเนืองตามความจําเปนและเหมาะสมกิจกรรมพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศANNUAL REPORT2024 1. ดําเนินการปรับปรุงข้อมูลสารสนเทศให้มีความครบถ้วนถูกต้องและ เปนปจจุบัน 2 ระบบ ได้แก่ ระบบฐานข้อมูลสํานัก และระบบการ ติดตามบุกรุกทําลายปา 2. ดูแลระบบเครือข่ายและระบบฐานข้อมูลจากผู้บุกรุก และผู้ทีไม่มี สิทธิในการเข้าใช้ระบบทังจากภายนอกและภายในระบบเครือข่าย 3. ให้คําปรึกษาแนะนํา ซ่อมบํารุงเครืองคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ให้แก่ หน่วยงาน จํานวน 64 ครัง 4. ดําเนินการควบคุมการประชุมผ่านระบบวีดีโอคอนเฟอร์เรนซ์ จํานวน 53 ครัง 5. จัดทําระบบการจองใช้งานห้องประชุม จํานวน 160 ครัง17รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
สาระสําคัญ การบริหารจัดการงานวิจัย เปนกิจกรรมสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานต่าง ๆ ภายใต้ความรับผิดชอบของสํานักวิจัยและพัฒนาการปาไม้ ซึงประกอบไปด้วยหน่วยปฏิบัติงานส่วนกลางและส่วนภูมิภาคหน่วยปฏิบัติงานส่วนกลาง เปนสถานทีจัดตังห้องทดลองงานวิจัยด้านต่างๆดังนันหน่วยปฏิบัติงานส่วนกลางจึงเปนพืนทีสําหรับการค้นคว้าศึกษาวิจัยงานวิจัยและประมวลผลการวิจัยด้านต่างๆพร้อมทังใช้ในการปฏิบัติงานวิชาการทัวไป สําหรับหน่วยปฏิบัติงานส่วนภูมิภาคภายใต้สังกัด สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น) มี 1 แห่ง เปนพืนทีสําหรับการสํารวจการเก็บตัวอย่างการวิจัยการทดลองแปลงปลูกปาเพือการวิจัยรวมถึงแหล่งรวบรวมพันธุ์กรรมพืชทีใช้ในการทดลองวิจัยและเปนพืนทีสร้างแหล่งเมล็ดพันธุ์ไม้สายพันธุ์ดีเพือนําไปขยายด้วยวิธีการต่างๆเพือให้ได้กล้าไม้สายพันธุ์ดี ดังนันการบริหารจัดการงานวิจัยจึงเปนกิจกรรมหลักทีให้การสนับสนุนงานวิจัยในทุกด้านทังในด้านการจัดทําแผนงานงบประมาณแผนปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายเงินการติดตามและประเมินผลและงานอืนๆทีได้รับมอบหมายรวมทังเปนค่าใช้จ่ายในการบํารุงดูแลศูนย์และสถานีการบํารุงรักษาหม้อแปลงปลูกปาเพือการวิจัยแค่ดูแลรักษาเครืองมือครุภัณฑ์ต่างๆเพือให้งานวิจัยทุกโครงการสามารถดําเนินได้อย่างมีประสิทธิภาพและนําไปพัฒนาต่อยอดเพือให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาอาชีพและเปนการเสริมสร้างรายได้สู่ครัวเรือนเปนการเพิมศักยภาพงานวิจัยให้พัฒนาสู่มาตรฐานโลก และเปนการสนับสนุนภารกิจเร่งด่วนตามนโยบายต่าง ๆ ของกรมปาไม้กิจกรรมบริหารจัดการงานวิจัยANNUAL REPORT202418รายงานประจําป 2567สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น) ผลการดําเนินงาน งานอํานวยการ จํานวน 4 หน่วยงาน1. จัดทําแนวกันไฟ จังหวัดกาฬสินธุ์ จํานวน 5 กิโลเมตร2. จัดทําแนวกันไฟ จังหวัดขอนแก่น จํานวน 12 กิโลเมตร3. สร้างแปลงผลิตเมล็ดไม้ในพืนทีสวนปาของรัฐ จ.ขอนแก่น จํานวน 110 ไร่4. ปรับปรุงหลังคาอาคารปฏิบัติการปรับปรุงพันธุ์ไม้ และปรับปรุงหลังคา 5. อาคารสํานักงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการใช้ประโยชน์ปาไม้ที 5 (ขอนแก่น) ท้องทีตําบลท่าพระ อําเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
ผลการดําเนินงาน สาระสําคัญ การพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เปนการพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้จากงานวิจัยของกรมปาไม้ ทีได้มีการศึกษาวิจัยนําไปส่งเสริมและถ่ายทอดเพือให้เกิดผลผลิต เพิมมูลค่างานวิจัยให้มีประสิทธิภาพ ทังยังเปนการเสริมสร้างความเข้าใจในการพัฒนาสวนปาเศรษฐกิจ การใช้ประโยชน์จากไม้สวนปาเศรษฐกิจให้มีประสิทธิภาพ รวมทังการสนับสนุนกลุ่มเปาหมายด้วยการดําเนินงานพัฒนาร่วมกับกลุ่มเปาหมายโดยตรง เพือให้เกิดผลสําเร็จอย่างเต็มที โดยการส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีในพืนทีของเกษตรกรหรือชุมชนทีมีอาชีพในการปลูกและใช้ประโยชน์ไม้เศรษฐกิจ เพือให้มีการพัฒนาการจัดการและเพิมรายได้จากความรู้ทีได้รับจากการถ่ายทอดและนวัตกรรมต่างๆ กิจกรรมพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้จึงจําเปนอย่างยิงต่อการเร่งรัดการส่งเสริม สนับสนุน การเผยแพร่ผลงานวิจัยสู่สาธารณะในรูปแบบต่างๆ เช่น การตีพิมพ์เผยแพร่ การประชุม สัมมนา จัดเวทีแสดงผลการวิจัย เพือส่งเสริมและถ่ายทอดองค์ความรู้งานวิจัยและเทคโนโลยีด้านปาไม้ และการบริหารจัดการทรัพย์สินทางปญญาอันเกิดจากการจัดทําฐานข้อมูลงานวิจัยด้านการปาไม้ ซึงเปนการสนับสนุนงานวิจัยและการจัดการองค์ความรู้จากงานวิจัยทีสามารถนําไปใช้ประโยชน์ต่อสาธารณชน ชุมชนท้องถิน โดยการถ่ายทอดผลงานวิจัยและส่งเสริมใช้ประโยชน์เพือการพัฒนาคุณภาพสังคมเศรษฐกิจในชุมชนท้องถินก่อให้เกิดการพัฒนาทีเข้มแข็ง ยังยืนและพึงพาตนเองได้กิจกรรมพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้ สํารวจและส่งเสริมการใช้ประโยชน์ไม้ขนาดเล็กและของปา จํานวน 10 ครัง 1. 2. จัดตังกลุ่มส่งเสริมพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการใช้ประโยชน์ไม้ขนาดเล็กและของปา จํานวน 1 ชุมชนANNUAL REPORT202419รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
กิจกรรมหลักฟ นฟูปาไม้ สาระสําคัญ ผลการดําเนินงานปฏิบัติงานการปลูกปา ฟนฟูปาทุกรูปแบบ รวมทังการดูแลรักษาสวนปา ซึงมีพืนทีดําเนินการดังนีANNUAL REPORT2024จังหวัดขอนแก่นกาฬสินธุ์มหาสารคามร้อยเอ็ด400พืนทีปาได้รับการบํารุงรักษาปาปที 2-6 (ไร่)พืนทีปาได้รับการบํารุงรักษาปาปที 7-10 (ไร่)จัดทําแนวกันไฟ(กิโลเมตร) --4001,000-9002,60029 20 80 73 มุกดาหาร1,00090010 เปนกิจกรรมสําหรับการบํารุงสวนปาทุกประเภทตังแต่อายุ 2 ป ถึง 10 ป เพือให้ต้นไม้ในสวนปาสามารถตังตัวและเจริญเติบโตโดยสวนปาในความรับผิดชอบของสํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น) ซึงหมดงบประมาณบํารุงแล้วมีจํานวน 83,144 ไร่ ซึงส่วนมากเปนไม้มีค่าทางเศรษฐกิจ ซึงมีแนวโน้มว่าจะถูกบุกรุกและยึดถือครอบครองได้ง่ายหากไม่มีการดูแลรักษาอย่างต่อเนืองดังนันจึงมีวัตถุประสงค์เพือเร่งฟนฟูความอุดมสมบูรณ์อย่างยังยืนต่อไป สร้างการมีส่วนร่วมของภาค ประชาชน และเอกชนในการปลูกและบํารุงปากิจกรรมบํารุงรักษาปา (งานบํารุงรักษาปา)20รายงานประจําป 2567สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
ผลการดําเนินงานปฏิบัติงานการบํารุงปาไม้ใช้สอย จํานวน 100 ไร่ ซึงมีพืนทีดําเนินการดังนีจังหวัดมุกดาหารร้อยเอ็ด50 ไร่พืนทีปาได้รับการบํารุงปาใช้สอย 50 ไร่ สาระสําคัญ เปนกิจกรรมสําหรับการบํารุง สวนปาทุกประเภทตังแต่อายุ 2 ปถึง 10 ป เพือให้ต้นไม้ในสวนปาสามารถตังตัวและเจริญเติบโต ดังนันจึงมีวัตถุประสงค์เพือเร่งฟนฟูความอุดมสมบูรณ์อย่างยังยืนต่อไปสร้างการมีส่วนร่วมของภาค ประชาชน และเอกชนในการปลูกและบํารุงปากิจกรรมบํารุงรักษาปา (งานโครงการพัฒนาปาไม้อันเนืองมาจากพระราชดําริ)21รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)ANNUAL REPORT2024
22รายงานประจําป 2567สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)ANNUAL REPORT2024 สาระสําคัญจังหวัดกาฬสินธุ์ขอนแก่น2,819 บํารุงแหล่งผลิตเมล็ดพันธุ์ไม้ปาอายุมากกว่า 10 ป (ไร่) 470 ผลการดําเนินงานปฏิบัติงานการบํารุงแหล่งผลิตเมล็ดพันธุ์ไม้ปาอายุมากกว่า 10 ป จํานวน 3,289 ไร่ ซึงมีพืนทีดําเนินการดังนี- เพือพัฒนาสวนปาเพือการวิจัยให้เปนแหล่งพันธุกรรมไม้เศรษฐกิจสําคัญสําหรับใช้ศึกษาวิจัยต่อยอดในการใช้ประโยชน์ทังทางด้านการจัดสวนปาเพือผลผลิตทีเปนเนือไม้ และไม่ใช่เนือไม้- เพือพัฒนาสวนปาเพือการวิจัยให้เปนแปลงสาธิตการจัดการสวนปาไม้เศรษฐกิจสําคัญสําหรับใช้เปนแหล่งศึกษาดูงานให้กับหน่วยงานภาครัฐเอกชน ชุมชน กลุ่มเกษตรกร นักศึกษาและประชาชนผู้สนใจ- เพือใช้เปนแหล่งรวบรวมพันธุ์ไม้เศรษฐกิจพันธุ์ดีทีผ่านการพัฒนาปรับปรุงพันธุ์และพัฒนาเปนแหล่งผลิตเมล็ดพันธุ์ไม้สําหรับใช้ปลูกสวนปาเศรษฐกิจให้กับหน่วยงานภาครัฐ เอกชน ชุมชน กลุ่มเกษตรกรและประชาชนผู้สนใจ- เพือใช้เปนแหล่งอาหารให้กับชุมชนโดยรอบสวนปาเพือการวิจัยได้เก็บหาและใช้ประโยชน์ผลิตผลทีได้จากสวนปาเปนการลดรายจ่ายเพิมรายได้ให้กับประชาชนกิจกรรมบํารุงรักษาปา (งานบริหารจัดการงานวิจัย)
กิจกรรมเพาะชํากล้าไม้เพือเพิมพืนทีสีเขียว (งานเพาะชํากล้าไม้เพือเพิมพืนทีสีเขียว) สาระสําคัญANNUAL REPORT2024หน่วยปฏิบัติเพาะชํากล้าไม้ทัวไป(กล้า)สถานีเพาะชํากล้าไม้จังหวัดขอนแก่นเพือการแจกจ่าย155,300เพือเตรียมจัดทํากล้าไม้ขนาดใหญ่จัดทํากล้าไม้ขนาดใหญ่(กล้า)เพาะชํากล้าไม้ด้วยถาดระบบรากลอย(กล้า)สถานีเพาะชํากล้าไม้บ้านฝาง จังหวัดขอนแก่นศูนย์เพาะชํากล้าไม้มหาสารคามสถานีเพาะชํากล้าไม้จังหวัดมหาสารคามสถานีเพาะชํากล้าไม้จังหวัดกาฬสินธุ์สถานีเพาะชํากล้าไม้นามน จังหวัดกาฬสินธุ์สถานีเพาะชํากล้าไม้จังหวัดร้อยเอ็ดสถานีเพาะชํากล้าไม้จังหวัดมุกดาหาร47,50044,700-155,30047,50044,700สถานีเพาะชํากล้าไม้หนองนาคํา จังหวัดขอนแก่นสถานีเพาะชํากล้าไม้ชุมแพ จังหวัดขอนแก่น155,30044,70045,000155,30044,700155,30044,700 47,500168,30044,70047,500 44,70044,700สถานีเพาะชํากล้าไม้สามชัย จังหวัดกาฬสินธุ์โครงการพัฒนาปาไม้ทุ่งกุลาร้องไห้ที 1 จ.ร้อยเอ็ด155,30044,70047,500155,300 44,700 47,500205,30044,70047,500320,000120,000120,000 200,000สถานีเพาะชํากล้าไม้แวงใหญ่ จังหวัดขอนแก่น155,300 44,70045,000 45,000 45,000168,800168,800 ส่งเสริมและประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความรู้ เกียวกับเทคนิคการเพาะชํากล้าไม้ การขยายพันธ์ุไม้แก่หน่วยงานของรัฐ ภาคเอกชน และประชาชน จํานวน 13 แห่ง จํานวน 3,807,500 กล้า ดังนี45,000 ผลการดําเนินงาน กิจกรรมเพาะชํากล้าไม้เพือเพิมพืนทีสีเขียว สาระสําคัญปจจุบันทุกประเทศทัวโลกรวมทังประเทศไทยต่างตระหนักถึงผลกระทบทีเกิดขึนจากปญหาภาวะโลกร้อนทีส่งผลต่อมนุษย์ทังทางตรงและทางอ้อม ซึงเปนทีทราบกันดีว่าการปลูกต้นไม้เพือเพิมพืนทีสีเขียวมีส่วนช่วยในการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ซึงเปนก๊าซเรือนกระจกทีสําคัญตัวหนึงในการก่อให้เกิดภาวะโลกร้อน ดังนันการผลิตกล้าไม้และแจกจ่ายกล้าไม้ให้หน่วยงานภาครัฐ องค์กรเอกชน รัฐวิสาหกิจ และประชาชนทัวไป เปนอีกแนวทางหนึงทีจะมีส่วนช่วยในการบรรเทาปญหาภาวะโลกร้อนดังกล่าว ตลอดจนเพือส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการและใช้ประโยชน์ทรัพยากรปาไม้อย่างยังยืนต่อไป23รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)รวม656,400677,5002,273,600200,000
สาระสําคัญ ปจจุบันทุกประเทศทัวโลกรวมทังประเทศไทย ต่างตระหนักถึงผลกระทบทีเกิดขึนจากปญหาภาวะโลกร้อนทีส่งผลต่อมนุษย์ทังทางตรง และทางอ้อมซึงเปนทีทราบกันดีว่าการปลูกต้นไม้ เพือเพิมพืนทีสีเขียวมีส่วนช่วยในการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึงเปนก๊าซเรือนกระจกทีสําคัญตัวหนึงในการก่อให้เกิดภาวะโลกร้อน ดังนัน การจัดเตรียมกล้าไม้ปที 1 เพือใช้สําหรับจัดทําเปนกล้าไม้ขนาดใหญ่ เพือใช้สําหรับสนับสนุนหน่วยงานต่างๆ ทังหน่วยงานภาครัฐ องค์กรเอกชน รัฐวิสาหกิจ ได้นําไปปลูกในงานพิธีและนําไปใช้ปลูกเนืองในวันสําคัญต่างๆ จึงเปนอีกแนวทางหนึงทีจะมีส่วนในการเพิมพืนทีสีเขียว เพือช่วยบรรเทาปญหาภาวะโลกร้อน ดังกล่าวตลอดจนเพือส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการและใช้ประโยชน์ทรัพยากรปาไม้อย่างยังยืนต่อไปกิจกรรมเพาะชํากล้าไม้เพือเพิมพืนทีสีเขียว (งานสํานักโครงการพระราชดําริและกิจการพิเศษ) ดําเนินการเพาะชํากล้าไม้ทัวไป เพาะชํากล้าไม้มีค่าและเพาะชําหญ้าแฝก ดังนี ผลการดําเนินงานหน่วยปฏิบัติเพาะชํากล้าไม้ทัวไป(กล้า)เพาะชํากล้าไม้มีค่า(กล้า)โครงการฟนฟูปาหนองเหมือดแอ่อันเนืองมาจากพระราชดําริ อ.เกษตรวิสัย จ.ร้อยเอ็ด โครงการฟาร์มตัวอย่างบ้านดอนม่วงพัฒนาอันเนืองมาจากพระราชดําริ โครงการฟนฟูปาไม้บ้านห้วยตาเปอะพืนทีลุ่มนําห้วยบางทราย 100,00030,00020,00020,00020,00020,000รวม 150,000 60,000เพาะชําหญ้าแฝก(กล้า)50,00030,000100,00020,000ANNUAL REPORT202424รายงานประจําป 2567สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
สาระสําคัญ ปจจุบันทุกประเทศทัวโลกรวมทังประเทศไทย ต่างตระหนักถึงผลกระทบทีเกิดขึนจากปญหาภาวะโลกร้อนทีส่งผลต่อมนุษย์ทังทางตรงและทางอ้อม ซึงเปนทีทราบกันดีว่าการปลูกต้นไม้ เพือเพิมพืนทีสีเขียวมีส่วนช่วยในการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึงเปนก๊าซเรือนกระจกทีสําคัญตัวหนึงในการก่อให้เกิดภาวะโลกร้อน ดังนัน การจัดเตรียมกล้าไม้ปที 1 เพือใช้สําหรับจัดทําเปนกล้าไม้ขนาดใหญ่ และเพาะชํากล้าไม้ของปาเพือใช้สําหรับสนับสนุนหน่วยงานต่างๆ ทังหน่วยงานภาครัฐ องค์กรเอกชน รัฐวิสาหกิจ ได้นําไปปลูกในงานพิธีและนําไปใช้ปลูกเนืองในวันสําคัญต่างๆ จึงเปนอีกแนวทางหนึงทีจะมีส่วนในการเพิมพืนทีสีเขียวเพือช่วยบรรเทาปญหาภาวะโลกร้อน ดังกล่าว ตลอดจนเพือส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการและใช้ประโยชน์ทรัพยากรปาไม้อย่างยังยืนต่อไปกิจกรรมเพาะชํากล้าไม้เพือเพิมพืนทีสีเขียว (งานบริหารจัดการงานวิจัย)ANNUAL REPORT2024หน่วยปฏิบัติเพาะชํากล้าไม้ทัวไป (กล้า)ศูนย์เมล็ดพันธุ์ไม้ปาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ขอนแก่น)ศูนย์วิจัยและพัฒนาการใช้ประโยชน์ปาไม้ที 5 (ขอนแก่น)15,000 ผลการดําเนินงาน25รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)12,000เพาะชํากล้าไม้ของปา (กล้า)
ผลการดําเนินงาน สาระสําคัญ กรมปาไม้ดําเนินงานตามมติคณะรัฐมนตรี เมือวันที 18 เมษายน 2538 ในหลักการปองกันและแก้ไขปญหาพระสงฆ์ในพืนทีปาไม้ โดยได้กําหนดแนวทางในการปองกันและแก้ไขปญหาพระสงฆ์ในพืนทีปาไม้ ตลอดจนกําหนดแนวทางในการส่งเสริมให้วัด สํานักสงฆ์ ทีพักสงฆ์ มีส่วนช่วยงานด้านปาไม้อย่างจริงจัง และต่อเนืองในรูปแบบทีเหมาะสม ซึงจากการดําเนินงานดําเนินการดังกล่าว กรมปาไม้จะได้จัดทํา "โครงการพุทธอุทยาน"เพือส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรปาไม้ โดยทีพักสงฆ์ในพืนทีปาไม้ทีได้รับหนังสือสําคัญแสดงการเข้าร่วมโครงการอนุรักษ์และฟนฟูปาไม้ร่วมกับพระสงฆ์ในพืนทีปาไม้เมือ พ.ศ.2552 สามารถจัดทําโครงการร่วมกับเจ้าหน้าทีนําไม้วัตถุประสงค์โครงการเพือการอนุรักษ์ทรัพยากรปาไม้ รวมถึงเปนการปลูกจิตสํานึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ปองกันการใช้ประโยชน์พืนทีปาไม้โดยไม่ถูกต้อง ดังนัน เพือเปนการพัฒนาการทํางานให้มีประสิทธิภาพเพิมมากยิงขึน กรมปาไม้จึงได้กําหนดกิจกรรมส่งเสริมสถาบันศาสนาพัฒนาปาไม้ ขึนเพือขยายผลการดําเนินโครงการพุทธอุทยาน ทีได้รับการอนุมัติให้ดําเนินโครงการจากกรมปาไม้ ให้ดําเนินกิจกรรม ด้านปาไม้ การเพิมพืนทีสีเขียว และการปลูกปา ร่วมกับสถาบันศาสนา รวมถึงเผยแพร่ความรู้ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรปาไม้ เปนการประชาสัมพันธ์งานในหน้าทีรับผิดชอบของกรมปาไม้ ต่อไปกิจกรรมเพาะชํากล้าไม้เพือเพิมพืนทีสีเขียว (งานส่งเสริมบทบาทพระสงฆ์ฟนฟูและพัฒนาปาไม้) ANNUAL REPORT202426รายงานประจําป 2567สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)ดําเนินการเพาะชํากล้าไม้สนับสนุนการดําเนินกิจกรรมส่งเสริมบทบาทพระสงฆ์ฟนฟูและพัฒนาปาไม้เพือแจกจ่ายในกลุ่มเปาหมาย ดังนี1.ศูนย์ปาไม้ขอนแก่น เพาะชํากล้าไม้ทัวไป จํานวน 10,000 กล้า2.ศูนย์ปาไม้มหาสารคาม เพาะชํากล้าไม้ทัวไป จํานวน 10,000 กล้า
สาระสําคัญ ผลการดําเนินงานกิจกรรมโครงการเพิมศักยภาพงานเพาะชํากล้าไม้ เนืองจากในปจจุบันอาคารสํานักงาน บ้านพักคนงาน และบ้านพักข้าราชการระดับต่างๆ ของหน่วยงานเพาะชํากล้าไม้มีสภาพค่อนข้างทรุดโทรมเนืองจากมีอายุการใช้งานมานานหลายป ทําให้โครงสร้างตัวอาคารเสือมสภาพ ดังนัน จึงต้องมีการปรับปรุงซ่อมแชมอาคารสํานักงาน และบ้านพักดังกล่าว เพือให้การปฏิบัติงานของหน่วยงานส่วนกลางและหน่วยงานทีปฏิบัติงานในส่วนภูมิภาคมีความปลอดภัยและมีประสิทธิภาพมากยิงขึน2. เรือนเพาะชํากล้าไม้ ขนาด 40*40 เมตร ตําบลหนองช้าง อําเภอสามชัย จังหวัดกาฬสินธุ์4. ก่อสร้างห่อพักนํา-ส่งนํา 5 ลบ.ม. ตําบลหนองช้าง อําเภอสามชัย จังหวัดกาฬสินธุ์1. เรือนเพาะชํากล้าไม้แบบถอดประกอบ ขนาด 20*20 เมตร ตําบลกุดธาตุ อําเภอหนองนาคํา จังหวัดขอนแก่น3. ก่อสร้างห่อพักนํา-ส่งนํา 5 ลบ.ม. ตําบลกุดธาตุ อําเภอหนองนาคํา จังหวัดขอนแก่น7. ครุภัณฑ์ยานพาหนะและขนส่ง รถบรรทุก (คีเซล) ขนาค 2 ตัน ปริมารกระบอกสูบ ไม่ตํากว่า 2,700 ซีซี แบบ 4 ล้อ ต.กู่ทอง อ.เชียงยืน จ.มหาสารคาม6. ก่อสร้างอาคารสํานักงานพร้อมปายสํานักงาน ตําบลวังใหม่ อําเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม5. ก่อสร้างห่อพักนํา-ส่งนํา 5 ลบ.ม. ตําบลวังใหม่ อําเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม27รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)ANNUAL REPORT2024
กิจกรรมหลักส่งเสริมการปลูกไม้เศรษฐกิจและเพิมพืนทีสีเขียวกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาการปลูกไม้เศรษฐกิจ (งานปลูกไม้เศรษฐกิจ)ANNUAL REPORT20241. พืนทีทีได้รับการขึนทะเบียนทีดินเปนสวนปาตามพระราชบัญญัติสวนปา พ.ศ. 2535และทีแก้ไขเพิมเติม จํานวน 5 จังหวัด2. พืนทีทีเคยเข้าร่วมโครงการส่งเสริมเกษตรกรปลูกปาของกรมปาไม้ ทีสินสุด การสนับสนุนจากโครงการแล้ว จํานวน 5 จังหวัด2. สํารวจ/เก็บข้อมูลภาคสนามตามหลักวิชาการปาไม้ 140 แปลงตัวอย่าง3. ให้คําแนะนําทางวิชาการด้านการดูแลและบํารุงรักษาและสร้างความรู้ความ เข้าใจในการดําเนินการตามพระราชบัญญัติสวนปา พ.ศ.2535 และทีแก้ไข เพิมเติม จํานวน 5 จังหวัด4. ร้อยละของจํานวนข้อมูลทีนําไปจัดทําระบบฐานข้อมูล ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 805. ติดตามผลการดําเนินโครงการ จํานวน 4 ครัง สาระสําคัญ ผลการดําเนินงาน ปจจุบันประเทศไทยมีความจําเปนต้องใช้ไม้ในกิจกรรมต่าง ๆ ตังแต่ระดับครัวเรือนไปจนถึงระดับอุตสาหกรรม นอกจากนีปริมาณความต้องการใช้ไม้ มีแนวโน้มสูงมากขึนในแต่ละป การปลูกปาเศรษฐกิจให้ประสบผลสําเร็จ เพือตอบสนองความต้องการใช้ไม้ดังกล่าว และเปนไปตามนโยบายการเพิมพืนทีปาเศรษฐกิจไม่น้อยกว่าร้อยละ 15 ของรัฐบาล จึงจําเปนจะต้องมีข้อมูลทีดีประกอบการวางแผนการบริหารจัดการ ได้แก่ ข้อมูลความต้องการไม้ แหล่งไม้ อุปสงค์และอุปทานทีสอดคล้องกัน ฐานข้อมูลไม้เศรษฐกิจจึงมีความสําคัญเปนอย่างยิง เพือสนับสนุน ส่งเสริม และสร้างแรงจูงใจให้ประชาชนประกอบอาชีพปลูกสร้างสวนปาอันเปนการเพิมพืนทีปาเศรษฐกิจให้กับประเทศ และการผลิตไม้เพือการค้าในทีดินของรัฐและเอกชนอย่างกว้างขวาง อีกทังเปนการรวบรวมข้อมูลไม้เศรษฐกิจจากสวนปาอันเปนฐานข้อมูลกําลังผลิตภายในประเทศและสามารถเชือมโยงสู่การตรวจสอบรับรองแหล่งทีมาของไม้ทีถูกต้องตามกฎหมายในกรณีการรับรองมาตรฐานการจัดการสวนปาอย่างยังยืน และการส่งออกไม้ต่อไป28รายงานประจําป 2567สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
กิจกรรมเสริมสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายเกษตรกรอาชีพปลูกสวนปาANNUAL REPORT20241. สนับสนุนการดําเนินงานของเครือข่ายทีได้รับการจัดตังและรับสมาชิกเพิมเติม จํานวน 5 เครือข่าย2. ประชาส้มพันธ์และรับสมัครผู้เข้าร่วมเครือข่าย จํานวน 5 เครือข่าย3. เกษตรกรต้นแบบ (คัดเลือกเกษตรกร ดีเด่น สาขาอาชีพปลูกสวนปา จํานวน 5 ราย4. สํารวจความพึงพอใจของเกษตรกรทีมีต่อศักยภาพของการพัฒนาเครือข่าย ไม้น้อยกว่าร้อยละ 805. ติดตามการดําเนินงาน จํานวน 4 ครังผลการดําเนินงาน สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น) ส่งเสริมให้ประชาชนปลูกไม้เศรษฐกิจในทีดินของตนเอง เพือเปนไม้ใช้สอยและเปนวัตถุดิบในอุตสาหกรรมไม้ภายในประเทศ ลดการนําเข้าไม้จากต่างประเทศพร้อมทําการส่งเสริมอาชีพด้านปาไม้ให้สามารถยึดถือเปนอาชีพในอนาคต และสนับสนุนให้ผู้ทําสวนปารายย่อยรวมกลุ่มโดยจัดตังเปนเครือข่ายและสหกรณ์สวนปาภาคเอกชนเพือให้เกิดความเข้มแข็งสามารถแก้ไข้ปญหาและอุปสรรค ด้านการบริหารจัดการสวนปา ตลอดจนเพิมขีดความสามารถในการผลิตการใช้ประโยชน์จากไม้ทีปลูก รวมถึงด้านการตลาด ดังนัน การสร้างเครือข่ายเกษตรกรอาชีพปลูกสวนปา จึงเปนแนวทางหนึงทีมีความสําคัญทีจะทําให้เกิดการมีส่วนร่วมและสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน ทําให้เกิดการพัฒนากลุ่มหรือองค์กรจนสามารถพึงพาตนเองได้ และเกิดความยังยืน ทังด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิงแวดล้อม สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น) จึงได้จัดทํากิจกรรมเสริมสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายเกษตรกรอาชีพปลูกสวนปา รองรับโครงการส่งเสริมการปลูกไม้เศรษฐกิจ โดยส่งเสริมให้มีการสร้างเครือข่ายเกษตรกรอาชีพปลูกสวนปา เพือให้เกิดความเชือมโยงกันระหว่างผู้ผลิตและผู้ประกอบการให้มีการบริหารจัดการทีมีประสิทธิภาพเพิมมากขึน และต่อยอดไปสู่การพัฒนาองค์ความรู้ในด้านต่างๆ ทีเกียวข้องในการส่งเสริมการปลูกไม้เศรษฐกิจก่อให้เกิดประโยชน์แก่เกษตรกรและประเทศชาติอย่างยังยืนตลอดไป สาระสําคัญ29รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
ผลการดําเนินงาน สาระสําคัญกิจกรรมส่งเสริมบทบาทพระสงฆ์ฟนฟูและพัฒนาการปาไม้ กรมปาไม้ดําเนินงานตามมติคณะรัฐมนตรี เมือวันที 18 เมษายน 2538 ในหลักการปองกันและแก้ไขปญหาพระสงฆ์ในพืนทีปาไม้ โดยได้กําหนดแนวทางในการปองกันและแก้ไขปญหาพระสงฆ์ในพืนทีปาไม้ ตลอดจนกําหนดแนวทางในการส่งเสริมให้วัด สํานักสงฆ์ ทีพักสงฆ์ มีส่วนช่วยงานด้านปาไม้อย่างจริงจัง และต่อเนืองในรูปแบบทีเหมาะสม ซึงจากการดําเนินงานดําเนินการดังกล่าว กรมปาไม้จะได้จัดทํา "โครงการพุทธอุทยาน" เพือส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรปาไม้ โดยทีพักสงฆ์ในพืนทีปาไม้ ทีได้รับหนังสือสําคัญแสดงการเข้าร่วมโครงการอนุรักษ์และฟนฟูปาไม้ร่วมกับพระสงฆ์ในพืนทีปาไม้ เมือ พ.ศ. 2552 สามารถจัดทําโครงการร่วมกับเจ้าหน้าทีปาไม้ วัตถุประสงค์โครงการเพือการอนุรักษ์ทรัพยากรปาไม้ รวมถึงเปนการปลูกจิตสํานึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ปองกันการใช้ประโยชน์พืนทีปาไม้โดยไม่ถูกต้อง ดังนัน เพือเปนการพัฒนาการทํางานให้มีประสิทธิภาพเพิมมากยิงขึน กรมปาไม้จึงได้กําหนดกิจกรรมส่งเสริมสถาบันศาสนาพัฒนาปาไม้ ขึนเพือขยายผลการดําเนินโครงการพุทธอุทยาน ทีได้รับการอนุมัติให้ดําเนินโครงการจากกรมปาไม้ ให้ดําเนินกิจกรรมด้านปาไม้ การเพิมพืนทีสีเขียว และการปลูกปา ร่วมกับสถาบันศาสนา รวมถึงเผยแพร่ความรู้ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรปาไม้ เปนการประชาสัมพันธ์งานในหน้าทีรับผิดชอบของกรมปาไม้ ต่อไปจัดทําโครงการพุทธอุทยาน จํานวน 2 แห่ง - ทีพักสงฆ์เทพพิทักษ์เขาถําบาตร ท้องทีบ้านโนนสวาทดิ หมู่ที 4 ตําบลรอบเมือง อําเภอหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด - ทีพักสงฆ์วัดปาอริยทรัพย์ ท้องทีบ้านโนนอํานวย หมู่ที 9 ตําบลนาตาล อําเภอท่าคันโท จังหวัดกาฬสินธุ์30รายงานประจําป 2567สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)ANNUAL REPORT2024
ผลการดําเนินงานดําเนินการอํานวยการและประสานการดําเนินงานโครงการ ส่งเสริมและพัฒนาปาไม้ตามแนวพระราชดําริ และการดูแลต้นไม้ทรงปลูกและไม้มงคลพระราชทานทรงปลูก โดยมีหน่วยปฏิบัติ ดังนี 1. สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น) เปนหน่วยงานหนึงทีร่วมดําเนินการตามโครงการอันเนืองมาจากพระราชดําริมาโดยตลอดและต่อเนืองงานด้านปาไม้ทีรับสนองพระราชดําริ ส่วนใหญ่เปนการดําเนินงานทางด้านการพัฒนาและฟนฟูสภาพปาเสือมโทรมการพัฒนาพืนทีและจัดทําทีทํากินให้ราษฎรในลักษณะบ้านเล็กในปาใหญ่การพัฒนาปาไม้ใช้สอยชุมชนการพัฒนาปาพืนบ้านอาหารชุมชนรวมตลอดถึงการศึกษาค้นคว้าทดลองวิจัยและสาธิตงานด้านปาไม้ในสาขาต่างๆทีเกียวข้อง เพือหารูปแบบทีเหมาะสมไปขยายผลและประยุกต์ใช้ในท้องทีอืนต่อไป 2. การดําเนินงานส่วนใหญ่อยู่ในรูปของโครงการพัฒนาแบบบูรณาการทีมีหน่วยงานมาร่วมดําเนินการตามแนวพระราชดําริภายใต้แผนแม่บทและแผนงานทีได้กําหนดไว้ 3. องค์กรในการดําเนินงานอยู่ในรูปของคณะกรรมการบริหารคณะอนุกรรมการจัดทําแผนแม่บทคณะอนุกรรมการดําเนินงานและทํางานในแต่ละโครงการโดยมีสํานักงานคณะกรรมการพิเศษเพือประสานงานโครงการอันเนืองมาจากพระราชดําริสํานักงาน กปร.เปนหน่วยประสานกลางและมีจังหวัดกองทัพภาคละหน่วยราชการทีเกียวข้องรวมกรมปาไม้ร่วมดําเนินการ 4. งบประมาณดําเนินการในระยะเริมแรกทีมีอันเนืองมาจากพระราชดําริสํานักงาน กปร. จะเปนผู้ให้การสนับสนุนงบกลางเพือดําเนินงานเปนการเฉพาะกิจเร่งด่วนและในปต่อๆไปหน่วยงานทีรับผิดชอบดําเนินการจะต้องตังงบประมาณปกติรองรับโดยกรมปาไม้จะตังงบประมาณรองรับภายใต้งบประมาณพัฒนาการปาไม้ อันเนืองมาจากพระราชดําริและพืนทีเฉพาะการอนุรักษ์ทรัพยากรปาไม้ควบคู่กับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของราษฎรในพืนทีซึงมีความหลากหลายของงาน เช่น ปลูกฟนฟูสภาพปาในพืนทีโครงการพระราชดําริการปลูกปา ๓ อย่างประโยชน์ ๔ อย่างเพราะกล้าไม้ปามีค่าเพราะหญ้าแฝกจัดทําฝายชะลอความชุ่มชืน จัดทําแนวกันไฟสํารวจและจัดหาเมล็ดพันธุ์ไม้ปาทําแปลงทดสอบและสาธิตการปลูกไม้มีค่าการสร้างจิตสํานึกฝกอบรมด้านการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ การประชาสัมพันธ์เผยแพร่งานอํานวยการและประสานงานและอืนๆทังนีขึนอยู่กับแนวพระราชดําริวัตถุประสงค์เปาหมายรวมตลอดถึงสภาพพืนทีและสภาพความเปนอยู่ของประชาชนในแต่ละโครงการนันๆกิจกรรมโครงการพัฒนาปาไม้อันเนืองมาจากพระราชดําริกิจกกรรมหลักส่งเสริมและการพัฒนาการปาไม้ANNUAL REPORT2024 1. โครงการฟนฟูปาหนองเหมือดแอ่อันเนืองมาจากพระราชดําริ ตําบลกําแพง อําเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด 2. โครงการฟาร์มตัวอย่างบ้านดอนม่วงพัฒนาอันเนืองมาจากพระราชดําริ ตําบลโพนทราย อําเภอเมืองมุกดาหาร จังหวัดมุกดาหาร 3. โครงการฟนฟูปาไม้บ้านห้วยตาเปอะและพืนทีลุ่มนําห้วยบางทรายตอนบน อันเนืองมาจากพระราชดําริ ตําบลกกตูม อําเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร สาระสําคัญ31รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
ผลการดําเนินงานกิจกรรมปฏิบัติการพิเศษในการปองกัน ทําลายทรัพยากรปาไม้ สาระสําคัญ การพิทักษ์รักษาพืนทีปาไม้ จํานวน 17 หน่วย ของสํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น) คิดเปนพืนทีรับผิดชอบเฉลียต่อหน่วย ประมาณ81,012 ไร่ ซึงเปนพืนทีกว้างขวางทําให้การตรวจตราดูแลเพือปองกันการบุกรุกทําลายทรัพยากรปาไม้ทําได้ไม่ทัวถึง การจัดตังชุดปฏิบัติการพิเศษปาไม้จึงเปนการเพิมทรัพยากรบุคคล เครืองมือในการปฏิบัติงานเพือให้การดูแลรักษาทรัพยากรปาไม้สามารถทําได้อย่างรวดเร็ว ทัวถึง สมําเสมอ และมีประสิทธิภาพอย่างยิงขึน ในการปฏิบัติงานของชุดปฏิบัติการพิเศษปาไม้ เปนการปฏิบัติงานในแต่ละสถานการณ์ ซึงมีความเสียงต่อผู้ปฏิบัติงานอย่างยิงและต้องใช้ความสามารถเฉพาะตัวค่อนข้างสูง จําเปนอย่างยิงจะต้องมีอุปกรณ์และเครืองมือต่างๆทีเหมาะสมต่อการปฏิบัติงานในทุกสถานการณ์และมีสมรรถนะทีสูงเพียงพอต่อการปฏิบัติงานให้บรรลุเปาหมาย และปลอดภัยจากผู้กระทําผิดซึงมีอุปกรณ์ในการกระทําผิดทีมีสมรรถนะสูงดําเนินงานโดยชุดปฏิบัติการพิเศษปาไม้คําปาหลาย อําเภอเมืองมุกดาหาร จังหวัดมุุกดาหาร1. งานอํานวยการประชุม/ประสานงานหน่วย/ธุรการต่างๆ จํานวน 12 ครัง2. ตรวจสอบพืนทีและกําหนดเปาหมายการลาดตะเวนเชิงรุก จํานวน 1 ครัง3. วางแผนปฏิบัติตามแผนข่าวกรอง รวบรวมข้อมูลการสืบสวนแหล่งข่าว วิเคราะห์ขยายผล ติดตามผู้กระทําผิด จํานวน 12 ครัง3. บูรณาการทํางานร่วมกันกับหน่วยงานทีเกียวข้อง จับกุมดําเนินคดีนายทุน เจ้าหน้าทีของรัฐ ผู้สนับสนุนหรือมีส่วนร่วมใน การกระทําผิด จํานวน 12 ครัง4. รายงานผลการลาดตะเวน จํานวน 12 ครัง5. รายงานผลการตรวจสอบพืนทีทีมีการกระทําผิดกฎหมายว่าด้วยการปาไม้ให้ต้นสังกัด จํานวน 12 ครัง32รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)แผนงานยุทธศาสตร์สร้างการเติบโตอย่างยังยืน อนุรักษ์ ฟ นฟู และปองกันการทําทําลายทรัพยากรธรรมชาติกิจกรรมหลักปองกันรักษาปาและควบคุมไฟปาANNUAL REPORT2024
ANNUAL REPORT2024 สาระสําคัญ ผลการดําเนินงาน 1. งานอํานวยการ ประชุม/ประสานงานหน่วยงาน/ธุรการต่างๆ จํานวน 12 ครัง 2. บูรณาการการปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยงานอืนทีเกียวข้อง จํานวน 12 ครัง 3. สนับสนุนการดําเนินงานด้านการข่าวการสืบสวน สืบหาแหล่งข่าว วิเคราะห์และขยายผลติดตามผู้กระทําผิดโดยเฉพาะผู้กระทําผิด คดีรายใหญ่ คดีทีมีอิทธิผล และคดีทีมีความซับซ้อน จํานวน 12 ครัง 4. ก่อสร้างอาคารบ้านพักเจ้าหน้าที หน่วยปองกันรักษาปาที ขก.1 (ภูเวียง) จํานวน 1 แห่ง ปาไม้เปนทรัพยากรธรรมชาติทีมีคุณค่ายิงต่อมนุษย์และสิงแวดล้อม อีกทังยังเปนฐานการพัฒนาประเทศทุกด้าน เนืองจากทรัพยากรปาไม้ สามารถอํานวยประโยชน์ต่อเศรษฐกิจสังคมและสิงแวดล้อมของประเทศ และยังมีความสัมพันธ์กับวิถีชีวิต วัฒนธรรม และความเปนอยู่ของคนในสังคม และสิงแวดล้อมของประเทศ การปองกันและปราบปรามการบุกรุกทําลายทรัพยากรปาไม้ จึงเปนภารกิจหลักของกรมปาไม้ทีต้องปฏิบัติให้เปนไปตามระเบียบและกฎหมายทีเกียวข้อง เพือปกปอง รักษาทรัพยากรปาไม้ของชาติให้ดํารงอยู่คู่ชาติไทยตลอดไปกิจกรรมพัฒนาศักยภาพการปองกันรักษาปา (งานปองกันรักษาปาและควบคุมไฟปา)33รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
สาระสําคัญกิจกรรมปองกันไฟปาและควบคุมหมอกควันANNUAL REPORT2024 ผลการดําเนินงาน1.ดําเนินการจัดทําแนวกันไฟเพือปองกันไฟปา ในพืนทีรับผิดชอบ ได้แก่ - หน่วยปองกันรักษาปาที กส.2 (ดงแม่เผด) จํานวน 15 กิโลเมตร - หน่วยปองกันรักษาปาที มห.4 (คําอาฮวน) จํานวน 15 กิโลเมตร - ศูนย์ส่งเสริมการควบคุมไฟปามุกดาหาร จํานวน 200 กิโลเมตร2.สร้างเครือข่ายความร่วมมือในการปองกันและควบคุมไฟปา เปนค่าใช้จ่ายในการสนับสนุนหมู่บ้านเครือข่ายในการควบคุมไฟปา จํานวน 30 หมู่บ้าน หมู่บ้านละ 50,000 บาท ปจจุบันระดับของการเกิดไฟปาในประเทศไทย มีความรุนแรงมากจนกลายเปนปจจัยทีรบกวนสมดุลระบบนิเวศอย่างรุนแรงส่งผล กระทบต่อสังคม พืช ดิน นํา สัตว์และสิงมีชีวิตต่างๆ ตลอดจนชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนรวมไปถึงเศรษฐกิจ สังคม และการท่องเทียว ในทุกพืนทีของประเทศไทย นอกจากนีไฟปายังก่อให้เกิด วิกฤติ มลพิษหมอกควันจนกลายเปนปญหาใหญ่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยและชีวิตประชาชนเปนวงกว้างสําหรับสาเหตุของการเกิดไฟปาในประเทศไทย พบว่าเกิดจากมนุษย์ทังสินไม่ว่าจะเปนความประมาทคะนองหรือตังใจก่อให้เกิดไฟปา โดยมีสาเหตุต่างๆ กันไป ได้แก่ เก็บหาของปา ไข่มดแดง เห็ดใบตองตึง ไม้ไผ่ นําผึง ผักหวานและไม้ฟน การจุดไฟส่วนใหญ่ เพือให้พืนปาโล่งเดินสะดวกหรือให้แสงสว่างในระหว่างการเดินทางผ่านปาในเวลากลางคืนหรือจุดเพือกระตุ้นการงอกของเห็ดหรือกระตุ้นการแตกใบใหม่ของผักหวานและใบตองตึงการจุดไฟเพือล่าสัตว์การจุดไฟเผาปาเพือบุกรุกยึดถือครอบครองพืนทีปา การลักลอบจุดไฟเผาปาให้โล่งมีสภาพเปนทุ่งหญ้าเพือเปนแหล่งอาหารสัตว์ความประมาทการก่อกองไฟขณะเข้าไปพักแรมในปาแล้วลืมตัดหรือทิงก้นบุหรีบนพืนปา เปนต้น ดังนันกรมปาไม้ จึงให้ความสําคัญกับการปองกันไฟปาและควบคุมหมอกควันโดยสนับสนุนการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการควบคุมไฟปาในการเตรียมความพร้อมการปองกันไฟปาและควบคุมหมอกควัน ทีจะเกิดขึนในพืนทีร่วมกันสนับสนุนการปฏิบัติงานศูนย์ส่งเสริมการควบคุมไฟปา 1 หน่วย ศูนย์ปาไม้ 5 จังหวัดและหน่วยปองกันและพัฒนาปาไม้ 16 หน่วย ในลักษณะการเตรียม พนักงานดับไฟปา ให้มีทักษะการออกไปเปนเจ้าหน้าทีส่งเสริมการประสานความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องที (อปท.) เพือสนับสนุนหน่วยงานและชุมชนในการควบคุมไฟปาในพืนทีร่วมกัน พร้อมทังสร้างความรู้ความเข้าใจให้ประชาชนตระหนักถึงป ญหาไฟปาทีมีผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมสุขภาพและคุณภาพชีวิต34รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
ผลการดําเนินงานกิจกรรมดําเนินการเกียวกับไม้ของกลางและหลักฐานในคดีปาไม้ สาระสําคัญANNUAL REPORT2024 ปจจุบันสถานการณ์การลักลอบตัดไม้พะยุงและไม้มีค่าอยู่ในขันรุนแรง เนืองจากมีความต้องการใช้ไม้ชนิดนี เปนจํานวนมากในประเทศจีน โดยการลักลอบตัดไม้พะยูงเปนลักษณะของขบวนการใหญ่มีนายทุนทังของไทยและต่างประเทศเข้ามารับซือ มีการเสนอให้ราคาทีสูงขึนอย่างต่อเนืองทําให้มีแรงจูงใจในการลักลอบตัดไม้พะยูงมากขึน ดังนัน เพือเปนการปองกันและปราบปรามการลักลอบตัดไม้พะยูงและไม้มีค่า กรมบ่าไม้จึงได้มีมาตรการในการปองกันการลักลอบตัดไม้พะยูง และไม้มีค่าด้วยการลาดตระเวนปองกันการลักลอบตัดไม้พะยูงและไม้มีค่า การปองกันการลักลอบขนไม้พะยูงและไม้มีค่าออกจากพืนทีปา หรือการลักลอบขนไม้พะยูงข้ามลํานําโขงไปยังประเทศเพือนบ้าน จากการดําเนินมาตรการปราบปรามดังกล่าวมีการจับกุมดําเนินคดีและมีไม้ของกลางทีหน่วยปองกันรักษาบ่า ต้องมีภาระในการดูแลรักษาระหว่างคดีเปนจํานวนมาการ ดําเนินการเกียวกับไม้ของกลางและหลักฐานในคดีบําไม้เปนภารกิจของกรมปาไม้ทีต้องปฏิบัติให้เปนไปตามระเบียบและกฎหมายทีเกียวข้อง รวมทังต้องดูแลรักษาไม้ของกลาง ให้อยู่ในสภาพดีเพือให้สามารถใช้ประโยชน์ได้สูงสุดเมือไม้ของกลางตกเปนของแผ่นดิน1. งานอํานวยการประชุม/ประสานงานหน่วย/ธุรการต่างๆ จํานวน 12 ครัง2. ขนย้ายไม้ของกลางมาเก็บรักษาในสถานทีปลอดภัย และเผ้ารักษาไม้ของกลาาง จํานวน 1 งาน3. ตรวจพิสูจน์ไม้ของกลาง ติดตามมาตรการ ควบคุม ดูแลมิให้มีการนําไม้ในปามาสวมสิทธิเปนไม้ทีขึนในทีดินกรรมสิทธิหรือ สิทธิครอบครองติดตามตรวจสอบแปลงทีดินทีตรวจยึดไว้เพือปองกันมิให้บุกรุกซํา จํานวน 12 ครัง35รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
กิจกรรมหลักปรับปรุง เครืองมือ และกลไกล ในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติกิจกรรมบริหารงานคณะกรรมการควบคุมและรักษาปาสงวนแห่งชาติประจําจังหวัดANNUAL REPORT2024 ผลการดําเนินงาน สาระสําคัญ ด้วยพระราชบัญญัติปาสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 และพระราชบัญญัติปาสงวนแห่งชาติ (ฉบับที 4) พ.ศ. 2559 มาตรา 10 กําหนดให้จังหวัดใดทีมีปาสงวนแห่งชาติให้มีคณะกรรมการคณะหนึง เรียกว่า คณะกรรมการควบคุม และรักษาปาสงวนแห่งชาติประจําจังหวัด และสอดคล้องกับอํานาจหน้าทีตาม มาตรา 11 มาตรา 12 และ มาตรา 13 รวมทังมีมาตรการในการควบคุมดูแล กิจการ หรือการกระทําต่าง ๆ หรือการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าทีทีกระทําการภายในปาสงวนแห่งชาติ ต้องรายงานกิจกรรมทุกประเภทต่อ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อม ผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติปาสงวนแห่งชาติ รวมทังกิจกรรมต่าง ๆ ภายในปาสงวนแห่งชาติ ต้องไม่ขัดต่อมาตรการของคณะกรรมการฯรวมถึงการประสานงานติดตาม สนับสนุนการบริการจัดการทรัพยากรปาไม้ของชาติตามกฎหมายเกียวกับการปาไม้ และการดําเนินงานของหน่วยงานต่าง ๆได้มีประสิทธิภาพประสิทธิผล และเกิดความยังยืนตลอดจนเปนการตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ชาติ แผนปฏิรูปประเทศ และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติในด้านทีเกียวกับทรัพยากรปาไม้ ซึงต้องสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ป พ.ศ. 2561 - 2580 ในยุทธศาสตร์ที 5 ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตทีเปนมิตรต่อสิงแวดล้อม ระบุว่า “ภายในป 2573 ทังนีเพือวางรากฐานและสนับสนุนให้ประเทศมีการเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างยังยืน โดยตังเปาหมายทีจะเพิมพืนทีปาไม้ให้ได้ร้อยละ 40 ของพืนทีประเทศไทย (128 ล้านไร่) และลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” และเพือให้บรรลุเปาหมายตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ป กําหนดทิศทางพืนทีสีเขียวในประเทศไทย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 55 โดยแบ่งเปน 4 มาตรการ คือ1. การจัดการปาไม้เพือการอนุรักษ์ มีแผนการปกปองปาไม้2. การจัดการปาไม้เพือการสนับสนุนการพัฒนา3. การจัดการปาไม้เพือเศรษฐกิจและสังคม โครงการจัดทีดินทํากินให้ชุมชน (คทช.) ปาชุมชน และปาในเมือง4. การปฏิรูปการบริหารจัดการปาไม้เพือความยังยืน ขับเคลือนการใช้เทคโนโลยีมาช่วยในปฏิรูปทรัพยากรปาไม้ เพือนําไปสู่การเพิมพืนทีปาอนุรักษ์ ร้อยละ 25 และปาเศรษฐกิจ ร้อยละ 15 รวมทังสิน ร้อยละ 40 ของพืนทีประเทศรวมทังอนุรักษ์ฟนฟูพืนทีปาของประเทศ ให้มีความอุดมสมบูรณ์ ต่อไป1. ประชุมคณะกรรมการควบคุมและรักษาปาสงวนแห่งชาติประจําจังหวัดตามพระราชบัญญัติปาสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 ทัง 5 จังหวัด ได้แก่ กาฬสินธุ์ ขอนแก่น มหาสารคาม มุกดาหาร และร้อยเอ็ด 2. สนับสนุนการดําเนินการของคณะกรรมการควบคุมและรักษาปาสงวนแห่งชาติประจําจังหวัดให้เกิดประสิทธิภาพในการควบคุมดูแลรักษาปาสงวนแห่งชาติ36รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
สาระสําคัญ ผลการดําเนินงาน - สามารถจัดตังศูนย์ปฏิบัติการพัฒนาและปรับปรุงพันธุ์ไม้มีค่าสายพันธุ์ดีของกรมปาไม้เทคนิคชีวโมเลกุล เพือการปลูกสร้างสวนปาเศรษฐกิจ - เพือเพิมศักยภาพในการแข่งขันกับต่างประเทศ มีการพัฒนาพันธุ์ทังทางด้านผลผลิตและคุณภาพ เนือไม้ให้เหมาะสมกับการใช้ประโยชน์ด้านอุตสาหกรรมการใช้ไม้ต่าง ๆ - เพือเปนแหล่งในการพิสูจน์เชิงนิติวิทยาศาสตร์และการตรวจพิสูจน์เนือไม้ทังข้อมูลชนิดไม้ และแหล่งทีมาได้ และสร้างความชัดเจนและความถูกต้องโดยเฉพาะชินส่วนไม้ทีเปนคดีความมีความคลุมเครือในการระบุชนิดและทีมา และข้อมูลทีได้นําไปใช้เปนฐานข้อมูล ดําเนินการสร้างแปลงสาธิตการจัดการสวนผลิตเมล็ดไม้และปรับปรุงสายพันธุ์ไม้มีค่า โดยดูแลบํารุงรักษาปาและเก็บข้อมูล วัดความเจริญเติบโตของแม่ไม้ จํานวน 2 แปลง - ศูนย์วนวัฒนวิจัยที 5 (ขอนแก่น) ท้องทีตําบลนาหนองทุ่ม อําเภอชุมแพจังหวัดขอนแก่น จํานวน 35 ไร่ - ศูนย์เมล็ดพันธุ์ไม้ปาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ขอนแก่น) ท้องทีตําบลโนนสมบูรณ์ อําเภอบ้านแฮด จังหวัดขอนแก่น จํานวน 10 ไร่กิจกรรมพัฒนาศักยภาพและการใช้ประโยชน์ไม้เศรษฐกิจANNUAL REPORT202437 รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
สาระสําคัญกิจกรรมปลูกไม้ใช้สอยในพืนทีโครงการพัฒนาปาไม้อันเนืองมาจากพระราชดําริ กรมปาไม้เปนหน่วยงานหนึงทีร่วมดําเนินการตามโครงการอันเนืองมาจากพระราชดําริมาโดยตลอดและต่อเนือง งานด้านปาไม้ทีรับสนองพระราชดําริส่วนใหญ่เปนการดําเนินงานทางด้านการพัฒนาและฟนฟูสภาพปาเสือมโทรม การพัฒนาพืนทีและจัดทําทีทํากินให้ราษฎรในลักษณะบ้านเล็กในปาใหญ่ การพัฒนาปาไม้ใช้สอยชุมชน การพัฒนาปาพืนบ้านอาหารชุมชน รวมตลอดถึงการศึกษา ค้นคว้า ทดลอง วิจัย และสาธิตงานด้านปาไม้ในสาขาต่าง ๆ ทีเกียวข้องเพือหารูปแบบทีเหมาะสมไปขยายผลและประยุกต์ใช้ในท้องทีอืนต่อไปงบประมาณดําเนินการในระยะเริมแรกทีมีพระราชดําริ สํานักงาน กปร. จะเปนผู้ให้การสนับสนุนงบกลางเพือดําเนินงานเปนการเฉพาะกิจเร่งด่วน และในปต่อๆ ไปหน่วยงานทีรับผิดชอบดําเนินการจะต้อง ตังงบประมาณปกติรองรับ โดยกรมปาไม้จะตังงบประมาณรองรับภายใต้งบงานพัฒนาการปาไม้อันเนืองมาจากพระราชดําริและพืนทีเฉพาะกิจกรรมทีดําเนินการภายใต้งบงานพัฒนาการปาไม้อันเนืองมาจากพระราชดําริและพืนทีเฉพาะโดยเน้นการอนุรักษ์ทรัพยากรปาไม้ควบคู่กับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของราษฎรในพืนที ซึงมีความหลากหลายของงาน เช่น ปลูกฟนฟูสภาพปาในพืนทีโครงการพระราชดําริ การปลูกปา 3 อย่าง เพือประโยชน์ 4 อย่าง เพาะกล้าไม้ปามีค่า เพาะหญ้าแฝก จัดทําฝายชะลอความชุ่มชืน จัดทําแนวกันไฟ สํารวจและจัดหาเมล็ดพันธุ์ไม้ปา จัดทําแปลงทดสอบและสาธิตการปลูกไม้มีค่า การสร้างจิตสํานึก ฝกอบรมด้านการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ การประชาสัมพันธ์เผยแพร่ งานอํานวยการและประสานงาน และอืนๆ ทังนีขึนอยู่กับแนวพระราชดําริ วัตถุประสงค์ เปาหมาย รวมตลอดถึงสภาพพืนทีและสภาพความเปนอยู่ของประชาชนในแต่ละโครงการนันๆ การดําเนินงานกิจกรรมปลูกปาไม้ใช้สอย จะปลูกในพืนทีปาสงวนแห่งชาติในโครงการอันเนืองมาจากพระราชดําริของกรมปาไม้ หรือพืนทีสาธาธารณประโยชน์ทีราษฎรใช้ประโยชน์ร่วมกัน โดยปลูกพันธุ์ไม้ตามแนวพระราชดําริ ไม้ 3 อย่างประโยชน์ 4 อย่าง ประกอบด้วย ไม้ใช้สอยไม้มีค่า และไม้กินได้ปลูกจํานวนไม่น้อยกว่า 200 ต้นต่อไร่ และให้มีเรือนยอดหลายชันใกล้เคียงกับปา ชนิดพันธ์ุไม้ให้พิจารณาพันธุ์ไม้ท้องถิน และพันธุ์ไม้อืนตามความเหมาะสม เพือให้เปนแหล่งทีชุมชนได้เข้ามาใช้ประโยชน์จากปาอย่างยังยืน โดยการเก็บหาของปา สมุนไพร เห็ด ไม้ฟน เปนต้น เพือเปนอาหารและใช้สอยในครัวเรือน38รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)ผลการดําเนินงานโครงการฟนฟูปาไม้บ้านห้วยตาเปอะและพืนทีลุ่มนําห้วยบางทรายตอนบนอันเนืองมาจากพระราชดําริ ตําบลกกตูม อําเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร ปลูกไม้ใช้สอย จํานวน 40 ไร่ANNUAL REPORT2024
ผลการดําเนินงาน สาระสําคัญ เปนการจัดการปาไม้ในรูปแบบของการเสริมสร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชน เพือให้มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการปาได้ อย่างมีประสิทธิภาพสอดคล้องกับภูมิประเทศและความต้องการของราษฎรในชุมชนในการจัดการปาไม้ เช่น ควบคุมดูแล รักษา หรือบํารุงปา โดยเน้นการสนับสนุนให้กลุ่มราษฎรในชุมชนเปนผู้ช่วยพนักงานเจ้าหน้าทีและเปนศูนย์กลางในการจัดการปาชุมชน เจ้าหน้าทีรัฐมีหน้าทีในการร่วมปฏิบัติให้การสนับสนุนความรู้ทางวิชาการรวมทังเทคนิควิธีการต่างๆ ในการดําเนินงาน โดยมีหลักเกณฑ์การพิจารณาทีสําคัญจากความต้องการและความพร้อมของชุมชนเปนลําดับแรกกิจกรรมส่งเสริมการจัดการปาชุมชนกิจกรรมหลักฟ นฟูและดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติANNUAL REPORT2024ศูนย์ปาไม้ขอนแก่น- การส่งเสริมการจัดทําหลักเขตและปายปาชุมชน จํานวน 25 กิโลเมตรศูนย์ปาไม้มหาสารคาม- การส่งเสริมการจัดทําหลักเขตและปายปาชุมชน จํานวน 24 กิโลเมตรศูนย์ปาไม้กาฬสินธุ์- การส่งเสริมการจัดตังปาชุมชน จํานวน 5 ปาชุมชน- การตรวจสอบและรังวัดจัดทําแผนทีแสดงแนวเขตของปาชุมชน จํานวน 10 กิโลเมตร- การส่งเสริมการจัดทําหลักเขตและปายปาชุมชน จํานวน 24 กิโลเมตรศูนย์ปาไม้ร้อยเอ็ด- การส่งเสริมการจัดทําหลักเขตและปายปาชุมชน จํานวน 20 กิโลเมตรศูนย์ปาไม้มุกดาหาร- การส่งเสริมการจัดตังปาชุมชน จํานวน 12 ปาชุมชน- การตรวจสอบและรังวัดจัดทําแผนทีแสดงแนวเขตของปาชุมชน จํานวน 50 กิโลเมตร- การส่งเสริมการจัดทําหลักเขตและปายปาชุมชน จํานวน 20 กิโลเมตร39 รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
สาระสําคัญ ผลการดําเนินงานกิจกรรมการดําเนินงานตามพระราชบัญญัติปาชุมชน พ.ศ.2562ANNUAL REPORT20241.ศูนย์ปาไม้จัดประชุมคณะกรรมการปาชุมชนประจําจังหวัด จํานวน 6 ครัง2.สร้างความรู้ความเข้าใจพระราชบัญญัติปาชุมชน พ.ศ. 2562 และอนุบัญญัติทุกศูนย์ปาไม้ จํานวน 6 ครัง3.ให้คําแนะนํา แจ้งข่าวประชาสัมพันธ์ด้านปาชุมชนให้กับเจ้าหน้าทีและชุมชนในหมู่บ้านเปาหมายอย่างต่อเนืองและสมําเสมอ กิจกรรมการดําเนินงานตามพระราชบัญญัติปาชุมชน พ.ศ.2562เปนการดําเนินการตามพระราชบัญญัติปาชุมชนที่ได้ประกาศลงในราชกิจจานุเบกษา เล่มที 136 ตอนที 71 ก เมือวันที 29 พฤษภาคม 2562 และมีผลบังคับตังแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนต้นไปนันตามบทบัญญัติบางประการได้กําหนดอํานาจหน้าที่และระยะเวลาการดําเนินงานให้แล้วเสร็จไว้ใน พ.ร.บ. ปาชุมชน 2562 ซึงมีกิจกรรมทีต้องดําเนินการตามพระราชบัญญัติดังกล่าวดังนี 1.ประชุมคณะกรรมการนโยบายปาชุมชนตามพระราชบัญญัติปาชุมชน 2562 ตามมาตรา 9 และมาตรา 20 2.ประชุมคณะกรรมการปาชุมชนประจําจังหวัดตามพระราชบัญญัติปาชุมชน 2562 ตามมาตรา 23 และมาตรา 26 3.กิจกรรมอํานวยการประสานติดตามนิเทศงานของกรมปาไม้ ในฐานะฝายเลขานุการคณะกรรมการนโยบายปาชุมชน และคณะกรรมการปาชุมชนประจําจังหวัด ตามพระราชบัญญัติปาชุมชน 2562 ตามมาตรา 9 และมาตรา 2340รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
ผลการดําเนินงาน สาระสําคัญกิจกรรมบริหารจัดการปาชุมชนเพือพัฒนาคุณภาพชีวิต กิจกรรมบริหารจัดการปาชุมชนเพือพัฒนาคุณภาพชีวิต เปนการจัดการปาไม้ในรูปแบบของการเสริมสร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชน เพือให้มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการปาได้อย่างมีประสิทธิภาพสอดคล้องกับภูมิประเทศและความต้องการของราษฎรในชุมชนในการจัดการปาไม้ เช่น ควบคุม ดูแล รักษา หรือบํารุงปา โดยเน้นการสนับสนุนให้กลุ่มราษฎรในชุมชนเปนผู้ช่วยพนักงานเจ้าหน้าทีและเปนศูนย์กลางในการจัดการปาชุมชน เจ้าหน้าทีรัฐมีหน้าทีในการร่วมปฏิบัติให้การสนับสนุนความรู้ทางวิชาการ รวมทังเทคนิควิธีการต่าง ๆในการดําเนินงาน โดยมีหลักเกณฑ์การพิจารณาทีสําคัญจากความต้องการและความพร้อมของชุมชนเปนลําดับแรกส่งเสริมปาชุมชนเปาหมายในการดําเนินการบริหารจัดการพืนทีโดยการสนับสนุนจากภาครัฐ ดังนีศูนย์ปาไม้ขอนแก่น จํานวน 4 ปาชุมชน1.ศูนย์ปาไม้มหาสารคาม จํานวน 4 ปาชุมชน2.ศูนย์ปาไม้ร้อยเอ็ด จํานวน 4 ปาชุมชน3.ศูนย์ปาไม้มุกดาหาร จํานวน 3 ปาชุมชน4.41 รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)ANNUAL REPORT2024
กิจกรรมหลักส่งเสริมการบริหารจัดการปาชุมชนANNUAL REPORT2024 ศูนย์วนวัฒนวิจัยที 5 (ขอนแก่น) ได้ดําเนินการสํารวจชนิดพืชสมุนไพรปาไม้ในท้องถิน ท้องทีจังหวัดเลยและจังหวัดหนองบัวลําภู ผลการดําเนินงานกิจกรรมอนุรักษ์และใช้ประโยชน์สมุนไพรจากปาอย่างยังยืน สาระสําคัญ ปจจุบันสมุนไพรไทยเปนทียอมรับและต้องการของทัวโลก ทังด้านวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์แปรรูป สมุนไพรหลายรายการได้ถูกนําไปเปนส่วนประกอบ ของผลิตภัณฑ์หลายขนาดและผลิตออกจําหน่ายไปทัวโลก ซึงในปจจุบันได้มีการศึกษาวิจัยต่อยอดสมุนไพรไทยจนเปนทียอมรับกันอย่างกว้างขวาง และองค์ความรู้จากแพทย์แผนไทยตามแนวการพึงพาตัวเอง ลดการนําเข้ายารักษาโรคจากต่างประเทศปหลายล้านบาท จึงมีความสําคัญอย่างยิงในการสํารวจฐานข้อมูลสมุนไพรในในพืนทีปาต่างๆ เพือรวบรวม ต่อยอด และพัฒนาความก้าวหน้าในการใช้ประโยชน์สมุนไพรเพือปรุงตําหรับยาในแต่ละท้องทีและนําองค์ความรู้ เผยแพร่สู่กลุ่มเปาหมายอย่างเปนรูปธรรม42รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
แผนงานยุทธศาสตร์สร้างการเติบโตอย่างยังยืน อนุรักษ์ ฟ นฟู และปองกันการทําลายทรัพยากรธรรมชาติANNUAL REPORT2024 สาระสําคัญรอยเอ็ด กาฬสินธุ ขอนแกน มุกดาหาร มหาสารคาม050100150200250 ผลการดําเนินงาน- ดําเนินการตรวจสอบและออกหนังสือรับรองไม้ ผลิตภัณฑ์ไม้ และถ่านไม้เพือส่งออกนอกราชอาณาจักร ในพืนที 5 จังหวัด ได้แก่ ขอนแก่นกาฬสินธุ์ มหาสารคาม มุกดาหาร และร้อยเอ็ด จํานวน 497 คําขอ1. การดําเนินการตรวจสอบและออกหนังสือรับรองเพือรับรองการค้าไม้ตามมาตรฐานของต่างประเทศเช่น อียู เฟล็กที (EU-FLEGT) ออสเตรเลีย เกาหลีใต้ ญีปุนอินโดนีเซีย เปนต้น2. ออกหนังสือรับรองไม้ ผลิตภัณฑ์ไม้ และถ่านไม้ เพือส่งออกไปนอกราชอาณาจักร3. ตรวจติดตามผลและให้คําแนะนําการออกหนังสือรับรองไม้ ผลิตภัณฑ์ไม้ และถ่านไม้ ให้กับเจ้าหน้าทีผู้ปฏิบัติงาน ณ สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ พืนทีผู้ประกอบการส่งออกไม้ หรือ ผู้ทีเกียวข้องทัวไป4. สนับสนุนข้อมูล องค์ความรู้ ให้บุคลากรด้านการตรวจสอบและออกหนังสือรับรองไม้ เพือให้บริการประชาชนและผู้ส่งออกสินค้าประเภทไม้ ได้อย่างรวดเร็ว ทันเวลา และเกิดประสิทธิภาพสูงสุด5. ประชาสัมพันธ์ เรืองเกียวกับการออกหนังสือรับรองไม้และช่องทางการยืนขอหนังสือรับรองไม้กิจกรรมตรวจสอบและออกหนังสือรับรองไม้ ผลิตภัณฑ์ไม้ และถ่านไม้เพือส่งออกไปนอกราชอาณาจักร กิจกรรมหลักส่งเสริมการปลูกไม้เศรษฐกิจแบบครบวงจร43 รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)กราฟแสดงการตรวจสอบและออกหนังสือรับรองไม้ฯ
สาระสําคัญกิจกรรมโครงการสนับสนุนการปลูกไม้เศรษฐกิจกิจกรรมหลักส่งเสริมการปลูกไม้เศรษฐกิจแบบครบวงจรANNUAL REPORT2024 ผลการดําเนินงาน 1. ประชาสัมพันธ์และรับเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ จํานวน 600 ไร่ 2. ให้คําแนะนําทางวิชาการด้านการปลูกและบํารุงต้นไม้ จํานวน 12 ครัง 3. ค่าใช้จ่ายในการสนับสนุนการปลูกไม้เศรษฐกิจ จํานวน 600 ไร่ 4. ค่าใช้จ่ายในการสนับสนุนการปลูกไม้รอบตัดฟนยาวแก่เกษตรกร ปที 5 จํานวน 800 ไร่ 5. สํารวจความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 6. ติดตามผลการดําเนินโครงการ จํานวน 16 ครัง ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที 12 (พ.ศ 2560-2564) ได้กําหนดแนวทางการอนุรักษ์ฟนฟูทรัพยากรปาไม้ให้เพิมพืนทีปาเศรษฐกิจให้ได้ร้อยละ 15 ของพืนทีประเทศ ซึงแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2561-2580) ได้กําหนดเปาหมายพืนทีปาเศรษฐกิจระยะ 5 ป (พ.ศ. 2565) 10 ป (พ.ศ. 2570) และ 15 ป (พ.ศ. 2575) ร้อยละ 10, 12 และ 15 ของพืนทีประเทศ คิดเปนเนือที 32.35, 38.82 และ48.53 ล้านไร่ ตามลําดับ ซึงพืนทีปาเศรษฐกิจในปจจุบัน มีเพียง 26.78 ล้านไร่ ประกอบด้วยสวนปาไม้เศรษฐกิจ 4.72 ล้านไร่ และสวนปาไม้ยางพารา 22.06 ล้านไร่ ดังนัน จึงต้องเร่งดําเนินการเพิมพืนทีปาเศรษฐกิจให้เปนไปตามเปาหมายทีกําหนด โดยมุ่งเปาไปทีทีดินกรรมสิทธิและสิทธิครอบครองตามประมวลกฎหมายทีดิน ตลอดจนพืนทีของรัฐทีอนุญาตให้ใช้ประโยชน์ การสนับสนุนการปลูกไม้เศรษฐกิจ โดยการอุดหนุนเงินลงทุนสําหรับการปลูกสร้างสวนปาในปที 1 เปนการส่งเสริมให้เกษตรกรหันมาปลูกไม้เศรษฐกิจในพืนทีของตนเอง โดยภาครัฐสนับสนุนเงินในการเตรียมพืนที เตรียมกล้าไม้ ปลูก และดูแลในปแรก ภายใต้การแนะนําของเจ้าหน้าทีสําหรับการดูแลและติดตามในระยะต่อไป (ปที 2-10) เพือความยังยืนของโครงการและเพือให้มันใจว่าเปาหมายพืนทีปาเศรษฐกิจจะเปนไปตามวัตถุประสงค์ทีตังไว้ กรมปาไม้จะดําเนินโครงการความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน (Public Private Patnership : PPP)โดยการหารือร่วมกับภาคเอกชนทีมีความสนใจทังในรูปแบบของความรับผิดชอบเชิงสังคม (Coperate Social Responsibility : CSR) หรือเกษตรพันธสัญญา (Contract Farming) หรือ การประสานหาแหล่งเงินสนับสนุนจากองค์กร/สถาบัน หรือแหล่งเงินกู้ดอกเบียตําเพือการอนุรักษ์สิงแวดล้อม โดยกรมปาไม้จะต้องทําหน้าทีผู้ประสานงานหลักเพือให้เกิดผลสําเร็จอย่างเปนรูปธรรม44รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
กิจกรรมโครงการส่งเสริมการปลูกไม้เศรษฐกิจในพืนทีปลูกไม้ยางพาราและพืนทีเกษตรกรรมANNUAL REPORT2024 สาระสําคัญ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที 12 พ.ศ (2560-2464)กําหนดให้เพิมความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติและการเพิมพืนทีปาไม้ให้ได้ร้อยละ 40 ของเนือทีประเทศหรือประมาณ 128 ล้านไร่ โดยเปนปาเศรษฐกิจร้อยละ 15 และรัฐบาลกําหนดนโยบาย พลิกฟนผืนปาสู่การพัฒนาทียังยืนมีมาตรการการเพิมพืนทีปาและพืนทีสีเขียว แนวทางการปฏิบัติโดยพัฒนาอุตสาหกรรมไม้จากการปลูกปาดําเนินการส่งเสริมประชาชนปลูกไม้มีค่าทางเศรษฐกิจในทีดินกรรมสิทธิและสามารถตัดขายได้รวมถึงส่งเสริมการปลูกไม้ในพืนทีของหน่วยงานราชการและสาธารณประโยชน์ ประเทศไทยมีพืนทีปลูกยางพาราประมาณ 19.6 ล้านไร่ และมีพืนทีใช้ประโยชน์ทางการเกษตร 149.22 ล้านไร่ (สํานักเศรษฐกิจการเกษตร 2559) ซึงส่วนใหญ่เปนการปลูกพืชเชิงเดียวทีมีความเสียงสูงทังจากราคาสินค้าการเกษตรทีตกตํา ศัตรูพืชและโรคระบาด การส่งเสริมเกษตรกรปลูกไม้เศรษฐกิจร่วมในพืนทีปลูกไม้ยางพาราและพืนทีเกษตรกรรมจึงเปนแนวทางหนึงทีช่วยลดความเสียงได้ และเปนการเสริมสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกร กรมปาไม้จึงได้จัดทําโครงการส่งเสริมการปลูกไม้เศรษฐกิจในพืนทีปลูกไม้ยางพาราและพืนทีเกษตรกรรม เพือเปนการเพิมพืนทีปาเศรษฐกิจของประเทศส่งเสริมให้เกษตรกรใช้ประโยชน์ทีดินอย่างเต็มศักยภาพสร้างรายได้จากไม้ทีปลูกให้แก่เกษตรกร นอกจากนีเปนการเพิมความหลากหลาย ของระบบนิเวศในพืนทีก่อให้เกิดการใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยังยืน ผลการดําเนินงานดําเนินการตามกิจกรรมทีปฏิบัติดังนี1. ประชาสัมพันธ์รับเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ จํานวน 900 ไร่2. สํารวจและจัดทําทะเบียนเกษตรกร จํานวน 900 ไร่3. ให้คําแนะนําทางวิชาการด้านการปลูก และบํารุงรักษาต้นไม้ จํานวน 4 ครัง4. สํารวจความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 805. ติดตามผลการดําเนินโครงการ จํานวน 4 ครัง 45 รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
สาระสําคัญ ผลการดําเนินงาน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที 12 พ.ศ (2560-2564)กําหนดให้เพิมความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ และการเพิมพืนทีปาไม้ให้ได้ร้อยละ 40 ของเนือทีประเทศหรือประมาณ 128 ล้านไร่ โดยเปนปาเศรษฐกิจร้อยละ 15 และรัฐบาลกําหนดนโยบาย พลิกฟนผืนปาสู่การพัฒนาทียังยืน มีมาตรการการเพิมพืนทีปาและพืนทีสีเขียว แนวทางการปฏิบัติ โดยพัฒนาอุตสาหกรรมไม้จากการปลูกปา ดําเนินการส่งเสริมประชาชนปลูกไม้มีค่าทางเศรษฐกิจในทีดินกรรมสิทธิและสามารถตัดขายได้ รวมถึงส่งเสริมการปลูกไม้ในพืนทีของหน่วยงานราชการและสาธารณประโยชน์ กรมปาไม้ด้านส่งเสริมการปลูกไม้เศรษฐกิจในทีดินของเอกชนเพือพัฒนาอาชีพและรายได้ของประชาชนทีสามารถยึดถือเปนอาชีพหลักในอนาคต ตลอดจนเปนไม้ใช้สอยและรองรับอุตสาหกรรมทีใช้ไม้เปนวัตถุดิบ ลดการนําเข้ามาจากต่างประเทศเพิมพืนทีปาเศรษฐกิจ ช่วยส่งเสริมให้เกษตรกรใช้ทีดินอย่างเต็มศักยภาพทังยังเปนการสนับสนุนให้ผู้ทําสวนปารายย่อยรวมกลุ่มโดยจัดตังเปนเครือข่ายและสหกรณ์สวนปาภาคเอกชนเพือให้เกิดความเข้มแข็งสามารถแก้ไขปญหาและอุปสรรคด้านการบริหารจัดการสวนปาตลอดจนเพิมขีดความสามารถในการผลิตการใช้ประโยชน์จากไม้ทีปลูกรวมถึงด้านการตลาดนอกจากนียังอํานวยความสะดวกในด้านกฎหมายทีเกียวข้องกับการปลูกสร้างสวนปาตลอดจนมีหลักฐานข้อมูลเพือใช้สนับสนุนการวางแผนด้านต่าง ๆ ต่อไปดําเนินการตามกิจกรรมทีปฏิบัติดังนี1. ประชาสัมพันธ์และรับเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ จํานวน 500 ไร่2. สนับสนุนการปลูกไม้โตเร็วแก่เกษตรกรปที 1 จํานวน 500 ไร่3. สนับสนุนการปลูกไม้โตเร็วแก่เกษตรกรปที 2 จํานวน 700 ไร่4. สนับสนุนการปลูกไม้โตเร็วแก่เกษตรกรปที 3 จํานวน 300 ไร่5. ให้ความรู้ด้านวิชาการและติดตามผลการดําเนินโครงการ จํานวน 30 ครังกิจกรรมโครงการส่งเสริมการปลูกไม้โตเร็วเพืออุตสาหกรรมANNUAL REPORT202446รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
สาระสําคัญ ผลการดําเนินงานกิจกรรมโครงการส่งเสริมการปลูกไม้โตเร็วเพือพลังงานทดแทน ตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2561 - 2580) ยุทธศาสตร์ที 5 ด้ามการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตทีเปนมิตรกับสิงแวดล้อม ประเด็นยุทธศาสตร์ที 1 สร้างการเติบโตอย่างยังยืนบนสังคมเศรษฐกิจสีเขียวซึงส่งเสริมปลูกปาเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมจากปาปลูกแบบครบวงจร และแผนแม่บทแห่งชาติภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นที 18 การเติบโตอย่างยังยืน กําหนดพืนทีปาไม้และพืนทีสีเขียว ไม่น้อยกว่าร้อยละ55 ของพืนทีประเทศ โดยมีพืนทีปาเศรษฐกิจเพือการใช้ประโยชน์ ร้อยละ 15 และกรมปาไม้มีมาตรการการเพิมพืนทีปาและพืนทีสีเขียว และแนวทางการปฏิบัติโดยพัฒนาอุตสาหกรรมไม้จากปาปลูก ดําเนินการส่งเสริมประชาชนปลูกไม้มีค่าทางเศรษฐกิจในทีดินกรรมสิทธิ และสามารถตัดขายได้ รวมถึงส่งเสริมการปลูกต้นไม้ในพืนทีของหน่วยงานราชการและทีสาธารณประโยชน์ โดยมีเปาหมายการเพิมพืนทีปาเศรษฐกิจ และให้ความสําคัญกับการส่งเสริมประชาชนและภาคเอกชนปลูกไม้โตเร็ว เพือรองรับอุตสาหกรรมทีใช้ไม้เปนวัตถุดิบในการผลิต ปจจุบันประเทศไทยมีแนวโน้มความต้องการใช้ไม้เพือเปนวัตถุดิบอุตสาหกรรมเพิมขึนอย่างต่อเนือง โดยเฉพาะอุตสาหกรรมไม้พลังงาน มีอัตราการขยายตัวเพิมขึนอย่างรวดเร็ว จากการวิเคราะห์ปริมาณการใช้ไม้ในป 2559 ของคณะวนศาสตร์ พบว่าอุตสาหกรรมไม้พลังงานมีความต้องการใช้ไม้ 16 ล้านตัน ไม้พลังงานสําหรับใช้ในครัวเรือน15 ล้านตัน ขณะทีความต้องการใช้ใม้ในภาพรวมของประเทศประมาณ 58 ล้านตัน/ป และจากการประมาณการคาดว่าในป 2579 จะมีความต้องการใช้ไม้ในอุตสาหกรรมมากขึนถึง1,566 ล้านตัน (คณะวนศาสตร์, 2560) จะเห็นได้ว่าปริมาณไม้ทีผลิตได้ในปจจุบันไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้ไม้ของประเทศ จากปญหาของภาคการเกษตรทีผ่านมา พบว่าเกษตรกรบางส่วนมีการเพาะปลูกพืชทีไม่เหมาะสมกับสภาพของพืนที ส่งผลให้การผลิตไม่มีประสิทธิภาพ เกษตรกรได้รับผลตอบแทนตํา ขณะทีภาคพลังงานมีความต้องการวัตถุดิบจากภาคการเกษตรสําหรับเปนเชือเพลิงพืชพลังงาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์กระทรวงพลังงาน กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อม และสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย จึงได้มีการตกลงร่วมกันในการจัดทําบันทึกความร่วมมือการสร้างความมันคงอย่างยังยืนให้แก่เกษตรกรด้วยการผลิตไฟฟาและพลังงานความร้อนจากพืชพลังงานเพือชุมชนและเศรษฐกิจฐานราก โดยมีวัตถุประสงค์เพือส่งเสริมและสนับสนุนการดําเนินงานสร้างความมันคงอย่างยังยืนให้แก่เกษตรกรด้วยการผลิตไฟฟาและพลังงานความร้อนจากพืชพลังงานเพือชุมชนและเศรษฐกิจฐานรากภายใต้แนวทางตลาดนําการผลิตเพือเปนทางเลือกให้เกษตรกรมีรายได้เพิมขึนอย่างยังยืนและสร้างความมันคงทางด้านพลังงานของประเทศจากการปลูกพืชพลังงานในพืนทีทําการเกษตรทีไม่เหมาะสม สร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนด้วยธุรกิจเพือสังคมทีเปนมิตรกับสิงแวดล้อม และสร้างเสถียรภาพทางด้านพลังงานให้แก่ประเทศ ซึงสอดคล้องกับแนวทางการขับเคลือนการพัฒนาประเทศไทยด้วยโมเดลเศรษฐกิจใหม่ทีเน้นการพัฒนาใน 3 ด้าน คือ เศรษฐกิจชีวภาพ-เศรษฐกิจหมุนเวียน-เศรษฐกิจสีเขียว(Bio-Circular-GreenEconomy) หรือโมเดลเศรษฐกิจ BCG แนวทางตลาดนําการผลิตและแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของประเทศไทย (Power Development Plan : PDP) เพือเปนทางเลือกให้เกษตรกร มีรายได้เพิมขึนอย่างยังยืน ชุมชนมีความเข้มแข็ง และสร้างความมันคงทางด้านพลังงานของประเทศต่อไป กรมปาไม้โดยสํานักเศรษฐกิจการปาไม้ จึงได้จัดทําโครงการส่งเสริมการปลูกไม้โตเร็วเพือพลังงานทดแทน เพือเปนการพัฒนาอาชีพ สร้างรายได้ให้กับประชาชน และเพิมผลผลิตไม้ เพือเปนวัตถุดิบรองรับอุตสาหกรรมพลังงานทดแทนดําเนินการตามกิจกรรมทีปฏิบัติดังนี1. ประชาสัมพันธ์และรับเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ จํานวน 250 ไร่2. ให้คําแนะนําทางวิชาการด้านการปลูกและบํารุงต้นไม้ จํานวน 5 ครัง3. พืนทีส่งเสริมการปลูกปาเศรษฐกิจในพืนทีของเอกชน จํานวน 250 ไร่4. สํารวจความพีงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5. ติดตามและประเมินผลการดําเนินโครงการ จํานวน 5 ครัง47 รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)ANNUAL REPORT2024
ผลการดําเนินงานกิจกรรมหลักอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีส่วนร่วมโครงการปองกันรักษาปา พัฒนาและเพิมพืนทีสีเขียวANNUAL REPORT2024 1. อํานวยการศูนย์ปฏิบัติการรุกขกรกรมปาไม้ จํานวน 1 ศูนย์ 2. ให้บริการดูแลรักษาและกู้ภัยต้นไม้แก่หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และประชาชน จํานวน 10 ครัง 3. ประชาสัมพันธ์และให้คําแนะนําในการดูแลรักษาต้นไม้ จํานวน 10 ครัง 4. สร้างเครือข่ายรุกขกรภายนอกองค์กรเพือขยายผลการปฏิบัติ งานด้านรุกขกร จํานวน 1 เครือข่าย สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น) มีชุดปฏิบัติการรุกขกรหรือหมอต้นไม้เพือทําหน้าทีดูแล บํารุงรักษา และตัดแต่งต้นไม้ให้ยังคงความสวยงาม แข็งแรง อย่างถูกหลักวิชาการ เพือเปนการแก้ปญหาความเสือมโทรมของต้นไม้ในเมืองและในพืนทีชุมชน สามารถปฏิบัติงานพร้อมทีจะให้บริการแก่หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และประชาชนได้อย่างทัวถึงในทุกพืนที โดยรุกขกรทีผ่านการอบรมมีประมาณ 7 คน การปฏิบัติงานของทีมรุกขกรทีผ่านการอบรมดังกล่าว ได้ดําเนินงานขยายผลถ่ายองค์ความรู้รวมทังสร้างทีมงานเพือปฏิบัติงานในทุกพืนที แต่บางส่วนยังมีข้อจํากัดในการปฏิบัติงานเนืองจากปจจัยต่างๆ เช่นอุปกรณ์ เครืองมือทีมีความจําเปน และงบประมาณในการปฏิบัติงาน เพือเกิดประโยชน์อย่างเต็มที และสามารถตอบสนองต่อความต้องการในการให้บริการประชาชน เพือให้ต้นไม้ในเมือง และชุมชนสวยงามแข็งแรง และปลอดภัยตามนโยบายของกรมปาไม้สาระสําคัญกิจกรรมรุกขกร48รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น) มีหน่วยปฏิบัติงานกิจกรรมผลิตกล้าไม้ 13 หน่วยปฏิบัติ และมีผลการดําเนินงานดังนี หน่วยปฏิบัติเพาะชํากล้าไม้ทัวไป(กล้า)สถานีเพาะชํากล้าไม้จังหวัดขอนแก่น 100,000สถานีเพาะชํากล้าไม้บ้านฝาง จังหวัดขอนแก่น90,000สถานีเพาะชํากล้าไม้หนองนาคํา จังหวัดขอนแก่นสถานีเพาะชํากล้าไม้ชุมแพ จังหวัดขอนแก่น70,00070,000สถานีเพาะชํากล้าไม้แวงใหญ่ จังหวัดขอนแก่น 70,000ศูนย์เพาะชํากล้าไม้มหาสารคามสถานีเพาะชํากล้าไม้จังหวัดมหาสารคามสถานีเพาะชํากล้าไม้จังหวัดกาฬสินธุ์สถานีเพาะชํากล้าไม้นามน จังหวัดกาฬสินธุ์สถานีเพาะชํากล้าไม้จังหวัดร้อยเอ็ดสถานีเพาะชํากล้าไม้จังหวัดมุกดาหาร100,000150,000สถานีเพาะชํากล้าไม้สามชัย จังหวัดกาฬสินธุ์โครงการพัฒนาปาไม้ทุ่งกุลาร้องไห้ที 1 จ.ร้อยเอ็ด100,000 100,000200,000300,000 75,000 75,000สาระสําคัญกิจกรรมผลิตกล้าไม้ (งานผลิตกล้าไม้)ANNUAL REPORT2024ผลการดําเนินงาน- ปญหาการลักลอบตัดไม้และค้าไม้มีค่าทางเศรษฐกิจ ถือเปนปญหาทีทุกรัฐบาลพยายามปองกันแก้ไขมาอย่างต่อเนือง ตังแต่อดีตจนถึงปจจุบันโดยเฉพาะอย่างยิงไม้พะยูง เนืองจากความต้องการใช้เนือไม้มีสูงมากประกอบกับกระแสความต้องการใช้ไม้ของตลาดทังในประเทศและต่างประเทศมีสูงขึนเรือย ๆซึงปจจุบันพบว่าไม้พะยูงยังคงมีกระแสการจับกุมผู้ลักลอบตัด และเคลือนย้ายเพือนําไปจําหน่ายในตลาดต่างประเทศอย่างต่อเนือง ดังนัน นอกจากการปองกันและปราบปรามการลักลอบทําไม้พะยูงอย่างเข้มงวด การเพาะชํากล้าไม้พะยูงเพือส่งเสริมให้มีการปลูกขยายพันธุ์กล้าไม้นัน ก็ยังเปนอีกแนวทางหนึงในการช่วยอนุรักษ์ชนิดพันธุ์การฟนฟูทรัพยากรปาไม้ การได้มาซึงพืนทีสีเขียวเพิมขึน สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น) ดําเนินการผลิตกล้าไม้ พืนถินเดิม แจกจ่ายให้แก่ประชาชนทีได้รับจัดสรรทีดินทํากินในโครงการ การจัดทีดินทํากินให้ชุมชนตามนโยบายรัฐบาลภายใต้คณะกรรมการนโยบายทีดินแห่งชาติ(คทช.) ในพืนทีปาสงวนแห่งชาติสามารถดําเนินการตามเงือนไขของมติคณะรัฐมนตรีฯ ให้เปนไปด้วยความเรียบร้อย และฟนฟูทรัพยากรปาไม้ เพิมพืนทีสีเขียว อันนําไปสู่ความยังยืนเพือคนรุ่นต่อไป49 รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)รวม 1,500,000
สาระสําคัญกิจกรรมผลิตกล้าไม้ (งานโครงการพระราชดําริและกิจการพิเศษ)ANNUAL REPORT2024 ปจจุบันทุกประเทศทัวโลกรวมทังประเทศไทย ต่างตระหนักถึงผลกระทบทีเกิดขึนจากปญหาภาวะ โลกร้อนทีส่งผลต่อมนุษย์ทังทางตรงและทางอ้อม ซึงเปนทีทราบกันดีว่าการปลูกต้นไม้เพือเพิมพืนทีสีเขียว มีส่วนช่วยในการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึงเปนก๊าชเรือนกระจกทีสําคัญตัวหนึงในการก่อให้เกิดภาวะโลกร้อน ดังนัน การผลิตกล้าไม้และแจกจ่ายกล้าไม้ให้หน่วยงานรัฐ องค์กรเอกชน รัฐวิสาหกิจ และประชาชนชนทัวไป เปนอีกแนวทางหนึงทีจะมีส่วนช่วยในการบรรเทาปญหาภาวะโลกร้อนดังกล่าว ตลอดจนเพือส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการและใช้ประโยชน์ทรัพยากรปาไม้อย่างยังยืนต่อไป ผลการดําเนินงาน50รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น) 1. โครงการพัฒนาฟนฟูปาไม้บ้านห้วยตาเปอะฯ จังหวัดมุกดาหาร จํานวน 50,000 กล้า 2. โครงการฟาร์มตัวอย่างบ้านดอนม่วงพัฒนาฯ จังหวัดมุกดาหาร จํานวน 100,000 กล้า 3. โครงการฟนฟูปาหนองเหมือดแอ่อันเนืองมาจากพระราชดําริ จังหวัดร้อยเอ็ด จํานวน 100,000 กล้าเพาะชําหญ้าแฝก จํานวน 250,000 กล้า ได้แก่
กิจกรรมผลิตกล้าไม้ (งานสํานักเศรษฐกิจการปาไม้)สาระสําคัญANNUAL REPORT2024 ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที 12 (พ.ศ 2260-2564) ได้กําหนดแนวทางการอนุรักษ์ฟนฟูทรัพยากรปาไม้ให้เพิมพืนทีปาเศรษฐกิจให้ได้ร้อยละ 15ของพืนทีประเทศ ซึงแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2561-2580) ได้กําหนดเปาหมายพืนทีปาเศรษฐกิจ ระยะ 5 ป (พ.ศ. 2565) 10 ป (พ.ศ. 2570) และ 15 ป(พ.ศ. 2575) ร้อยละ 10, 12 และ 15 ของพืนทีประเทศ คิดเปนเนือที 32.35, 38.82 และ48.53 ล้านไร่ ตามลําดับ ซึงพืนทีปาเศรษฐกิจในปจจุบัน มีเพียง 26.78 ล้านไร่ ประกอบด้วยสวนปาไม้เศรษฐกิจ 4.72 ล้านไร่ และสวนปาไม้ยางพารา 22.06 ล้านไร่ ดังนัน จึงต้องเร่งดําเนินการเพิมพืนทีปาเศรษฐกิจให้เปนไปตามเปาหมายทีกําหนด โดยมุ่งเปาไปทีทีดินกรรมสิทธิและสิทธิครอบครองตามประมวลกฎหมายทีดิน ตลอดจนพืนทีของรัฐทีอนุญาตให้ใช้ประโยชน์ โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี 1. เพือเพิมพืนทีปาเศรษฐกิจ 2. เพือส่งเสริมการใช้ประโยชน์ทีดินให้เต็มศักยภาพ 3. เพือเพิมผลผลิตไม้เศรษฐกิจและไม้ใช้สอยสร้างอาชีพให้แก่เกษตรกร สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น) จึงดําเนินการผลิตกล้าไม้ เพือแจกจ่ายให้แก่เกษตรกรทีเข้าร่วมโครงการฯ 1. โครงการสนับสนุนการปลูกไม้เศรษฐกิจ จํานวน 60,000 กล้า 2. โครงการส่งเสริมการปลูกไม้เศรษฐกิจในพืนทีปลูกไม้ยางพาราและพืนทีเกษตรกรรม จํานวน 45,000 กล้า 3. โครงการส่งเสริมการปลูกไม้โตเร็วเพืออุตสาหกรรม จํานวน 150,000 กล้า 4. โครงการส่งเสริมการไม้โตเร็วเพือพลังงานทดแทน จํานวน 75,000 กล้ารวมทังสิน จํานวน 330,000 กล้า 51 รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
ANNUAL REPORT2024 การอนุรักษ์ทรัพยากรปาไม้ของประเทศโดยภาครัฐ รัฐบาลได้ตระหนักถึงปญหาการลดลงของพืนทีปาไม้เสมอมา มีการเพิมมาตรการปองกันและปราบปรามการบุกรุกทําลายทรัพยากรปาไม้อย่างต่อเนือง ซึงผลการดําเนินการทีผ่านมา ยังไม่สามารถยุติปญหาดังกล่าวได้อย่างสมบูรณ์ โดยมีสาเหตุมาจากการขาดงบประมาณ วัสดุ คุรุภัณฑ์ต่างๆ และอัตรากําลังเจ้าหน้าทีประกอบกับราษฎรทีอาศัยใกล้เขตปายังขาดความรู้ ความเข้าใจในเรืองการอนุรักษ์ทรัพยากรปาไม้ และการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยังยืน กรมปาไม้จึงได้ปรับทิศทางการบริหารจัดการปาไม้โดยมุ่งเน้นการอนุรักษ์ควบคู่กับการพัฒนาให้เปนไปอย่างสมดุลในแนวทางการสร้างแนวร่วมในการดูแลทรัพยากรปาไม้จากภาคประชาสังคมให้เกิดจิตสํานึกในการอนุรักษ์และตระหนักถึงคุณค่าของทรัพยากรปาไม้นอกจากการมีส่วนร่วมกับองค์กรภาครัฐเอกชน ชุมชน และประชาชนเปาหมายในท้องถินพร้อมกับปรับปรุงบทบาทผู้นําชุมชน เจ้าหน้าทีปาไม้ ข้าราชการ หน่วยงานอืน ทีเปนนักส่งเสริมเพือประชาสัมพันธ์เผยแพร่ สร้างแนวร่วมในการพัฒนาปาไม้ทุกรูปแบบต่อประชาชนทุกกลุ่ม ให้เกิดจิตสํานึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและตระหนักถึงคุณค่าของทรัพยากรปาไม้ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติพระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปหลวง มีพระราชประสงค์ให้คนกลับมาอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข โดยพึงพาอาศัยซึงกันและกัน และทรงต้องการเปลียนแปลงทัศนคติพฤติกรรมของราษฎรจากผู้บุกรุกทําลายปาให้เปนผู้ดูแลรักษาและใช้ประโยชน์จากปาอย่างยังยืน ซึงเปนวิธีการทีดีทีสุดในการหยุดยังการทําลายปาโดยการสร้างจิตสํานึกร่วมกันของราษฎรในพืนทีตังแต่ระดับหมู่บ้านจนถึงระดับชุมชนใหญ่ทีมีอุดมการณ์ร่วมกันระหว่างเจ้าหน้าทีของรัฐกับราษฎรในพืนทีเกิดความรักหวงแหน และความเปนเจ้าของปาร่วมกัน ซึงการจัดฝกอบรมตามโครงการราษฎรอาสาสมัครพิทักษ์ปา(รสทป.) จนจัดตังเปนองค์กรราษฎรอาสาสมัครพิทักษ์ปา (รสทป.) ในชุมชนเพือร่วมกันดูแลรักษาปาในท้องถินของตนเองเปนอีกแนวทางหนึงทีส่งเสริมให้ราษฎรเข้ามามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรปาไม้ให้คงอยู่อย่างยังยืน ผลการดําเนินงาน สาระสําคัญกิจกรรมราษฎรอาสาสมัครพิทักษ์ปา (รสทป.)52รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)เครือข่าย รสทป.ทีตังหมู่ทีตําบลอําเภอจังหวัดหน่วยทีรับผิดชอบงบประมาณทีได้รับ (บาท)ตําบลนาจําบ้านนาโพธิ7นาจําเขาสวนกวางขอนแก่นหน่วยปองกันรักษาปาที ขก.4 (ภูนานํา)50,000ตําบลนาฝายบ้านสะแกเครือ3นาฝายภูผาม่านขอนแก่นหน่วยปองกันรักษาปาที ขก.4 (ภูผาม่าน)50,000สนับสนุนเงินอุดหนุนเครือข่ายราษฎรอาสาสมัครพิทักษ์ปา จังหวัดขอนแก่น จํานวน 2 หมู่บ้าน ได้แก่
ผลการดําเนินงาน สาระสําคัญกิจกรรมเครือข่ายปาชุมชนบริหารจัดการปาไม้อย่างยังยืน กิจกรรมเครือข่ายปาชุมชนบริหารจัดการปาไม้อย่างยังยืน ดําเนินการภายใต้แผนแม่บทยุทธศาสตร์ชาติยุทธศาสตร์ที 5 ด้านการสร้างการเติบโตอย่างยังยืนบนคุณภาพชีวิตทีเปนมิตรกับสิงแวดล้อม ประเด็นยุทธศาสตร์ที 4.1 สร้างการเติบโตอย่างยังยืนบนสังคมเศรษฐกิจสีเขียวแนวทางการพัฒนา 4.1.4 รักษาและเพิมพืนทีสีเขียวทีเปนมิตรกับสิงแวดล้อม โครงการที 3 โครงการจัดการปาไม้เพือเศรษฐกิจและสังคม 3.5โครงการขับเคลือนการพัฒนาการจัดการปาชุมชมชนตาม พ.ร.บ. ปาชุมชน พ.ศ. 2562 และตามแผนปฏิรูปประเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อม เรือง ทรัพยากรทางบก ประเด็นย่อย ทรัพยากรปาไม้และสัตว์ปา 1.7 พัฒนาการมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรปาไม้ 1.7.1 พัฒนาเครือข่ายการมีส่วนร่วมการจัดการทรัพยากรปาไม้ตามแนวทางประชารัฐและการสร้างแรงจูงใจให้ประชาชนมามีส่วนร่วมกับรัฐอย่างเปนรูปธรรมมีบทบาทในการติดตามเฝาระวังเกียวกับการบุกรุกทรัพยากรปาไม้ ตลอดจนมีต้นแบบขยายผลความสําเร็จไปสู่การบริหารจัดการปาชุมชนทัวประเทศซึงจะเปนกลไกลในการขยายการจัดตังปาชุมชนและขยายเครือข่ายความร่วมมือด้านการจัดการทรัพยากรปาไม้นําไปสู่กระบวนพัฒนาประเทศบนพืนฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อมต่อไป ดังนัน เพือให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ๆ ทีใช้ในการพัฒนาศักยภาพปาชุมชน พัฒนาทักษะของสมาชิกเครือข่ายฯ กระบวนการทํางาน และรูปแบบกิจกรรมต่างๆ พร้อมทังแนวทางแก้ไขป ญหาตามสถานการณ์ปจจุบัน จําเปนอย่างยิงทีจะต้องเสริมสร้างความเข้มแข็งให้เครือข่ายฯ เกิดความรู้ ความเข้าใจในบทบาทของการอนุรักษ์และพัฒนาตลอดจนมีความพร้อมในการบริหารจัดการปาชุมชนในพืนทีของตนเองและขยายผลไปในพืนทีข้างเคียงดําเนินการประชาสัมพันธ์สร้างความรู้ ความเข้าใจ กระบวนการบริหารจัดการปาชุมชนภายใต้การดําเนินงานในรูปแบบเครือข่ายปาชุมชน และส่งเสริมกระบวนการคัดเลือกคณะกรรมการเครือข่ายปาชุมชนระดับจังหวัดให้เปนไปตามระเบียบว่าด้วยการจดแจ้งเปนเครือข่ายปาชุมชนระดับจังหวัด โดยมีการดําเนินกิจกรรม ดังนี1.รับสมัครเครือข่ายปาชุมชน จํานวน 100 คน -ศูนย์ปาไม้ขอนแก่น จํานวน 20 คน -ศูนย์ปาไม้มหาสารคาม จํานวน 20 คน -ศูนย์ปาไม้กาฬสินธุ์ จํานวน 20 คน -ศูนย์ปาไม้ร้อยเอ็ด จํานวน 20 คน -ศูนย์ปาไม้มุกดาหาร จํานวน 20 คน2. กิจกรรมอํานวยการและติดตามนิเทศงาน จํานวน 12 ครัง53 รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)ANNUAL REPORT2024
สาระสําคัญกิจกรรมเครือข่ายชุมชนฟนฟูปาANNUAL REPORT2024 กรมปาไม้ โดยสํานักส่งเสริมการปลูกปา ได้เล็งเห็นถึงความสําคัญในการฟนฟูพืนทีปาเสือมโทรม และการดูแล รักษาพืนทีปาไม้ในความรับผิดชอบของกรมปาไม้ให้มีความสมบูรณ์ ด้วยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนจึงได้จัดทําโครงการเครือข่ายชุมชนฟนฟูปาขึน เพือเปนการส่งเสริมการมีส่วนรวมของประชาชนในการดูแลรักษาทรัพยากรปาไม้ โดยจัดให้มีกิจกรรมการฟนฟูพืนทีปาและการปองกันรักษาปา เช่น กําหนดกติกาของชุมชน/หมู่บ้าน เพาะกล้าไม้โดยชุมชนเพือนําไปปลูกเสริมปา การฟนฟูปาแบบมีส่วนร่วมในรูปแบบต่างๆก่อสร้างฝายต้นนําแบบผสมผสาน กิจกรรมการจัดทําแนวปองกันไฟปาและเส้นทางตรวจการณ์เพือใช้เปนเส้นทางในการตรวจตราการบุกรุกทําลายปา54รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น) 1. จัดตังเครือข่ายชุมชนฟนฟูปา ท้องทีบ้านสระแก้ว หมู่ที 10 ตําบลนาหนองทุ่ม อําเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น จํานวน 1 หมู่บ้าน 2. จัดตังเครือข่ายชุมชนฟนฟูปา ท้องทีบ้านดงสวนพัฒนา หมู่ที 7 และ 15 ตําบลนาทัน อําเภอจังหวัดกาฬสินธุ์ จํานวน 2 หมู่บ้าน 3. จัดตังเครือข่ายชุมชนฟนฟูปา ท้องทีบ้านโนนสะอาด หมู่ที 9 ตําบลนาโพธิ อําเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม จํานวน 1 หมู่บ้าน ผลการดําเนินงาน
สาระสําคัญผลการดําเนินงานกิจกรรมถ่ายทอดองค์ความรู้งานเพาะชํากล้าไม้55 รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น) เพือบุคลากรภาครัฐได้รับการพัฒนาให้เปนผู้ทีมีกรอบความคิด และทักษะทีเหมาะสมในการปฏิบัติงานและสามารถทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตอบโจทย์ทิศทางการขับเคลือนภารกิจของประเทศตามแผนการปฏิรูปประเทศ แผนยุทธศาสตร์ชาติ ตลอดจนการพัฒนาระบบราชถารในอนาคต เพือพัฒนาศักยภาพของราษฎรตลอดจนเยาวชน นักเรียน นักศึกษา ในพืนทีเปาหมายให้มีความรู้ความสามารถ ทังในด้านทฤษฎีและปฏิบัติเกียวกับการเพาะชํากล้าไม้ ตลออดจนวิชาการบําไม้ด้านอืนๆ เพือใช้ทักษะและองค์ความรู้ทีได้จากการฝกอบรมไปใช้ในการประกอบอาชีพด้านการเพาะชํากล้าไม้และปลูกฝงจิตสํานึกด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรากรปาไม้ สร้างเครือข่ายราษฎร ตลอดจน เยาวชน นักเรียน นักศึกษา ทีมีศักยภาพด้านการเพาะชํากล้าไม้ให้เปนกําลังหลักแก่ชุมชน เพือให้สามารถผลิตกล้าไม้ได้เองในพืนทีเปาหมาย และสามารถนําไปขายเพือสร้างรายได้หรือปลูกเพือการส่งเสริมปลูกไม้มีค่าเปนเงินออม/เงินมรดก ตลอดจน ช่วยเพิมความอุดมสมบูรณ์ และความหลากหลายทางชีวภาพของระบบนิเวศกลับคืนสู่สภาพบําธรรมชาติและเปนการเพิมพืนพืนทีสีเขียว คืนสู่ประเทศชาติสืบไปฝกอบรมโครงการศูนย์พัฒนาอาชีพ การเพาะชํากล้าไม้ จํานวน 2 หลักสูตร - โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้อาชีพการเพาะชํากล้าไม้สู่ชุมชน (ครูกล้าไม้) ณ โรงเรียนนาสีนวนพิทยาสรรค์ ตําบลนาสีนวล ตําบลนาสีนวนอําเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม - โครงการศูนย์พัฒนาอาชีพการเพาะชํากล้าไม้ (โรงเรียนกล้าไม้) ณ ศูนย์เพาะชํากล้าไม้มหาสารคาม ท้องทีตําบลกู่ทอง อําเภอเชียงยืนจังหวัดมหาสารคาม ANNUAL REPORT2024
ผลการดําเนินงาน สาระสําคัญ ในพืนทีปาสงวนแห่งชาติมีราษฎรครอบครอง ทํากินกระจายอยู่โดยทัวไปทําให้เกิดความขัดแย้งในการใช้ทรัพยากรทีดินและปาไม้ซึงจากปญหาดังกล่าวจึงจําเปนต้องสงวนคุ้มครองทรัพยากรปาไม้ของชาติ และในขณะเดียวกันต้องดูแล ช่วยเหลือราษฎรในเรืองทีอยู่อาศัยและทํากินด้วยดังนีจึงต้องดําเนินการจัดการทีดินในเขตปาสงวนแห่งชาติอย่างเปนระบบดําเนินการแก้ไขปญหาทีดินในพืนทีปาไม้ให้ราษฎรสามารถอยู่ได้อย่างถูกต้องเปนหลักแหล่งเหมาะสมควบคุมมิให้มีการบุกรุกขยายพืนทีโดยดําเนินการภายใต้มาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติปาสงวนแห่งชาติพศ ๒๕๐๗ และระเบียบกรมปาไม้ว่าด้วยการอนุญาตให้เข้าทําประโยชน์หรืออยู่อาศัยภายใต้เขตปาสงวนแห่งชาติ พ.ศ 2484ซึงสนับสนุนให้มีการจัดการอย่างมีส่วนร่วมกันในสถานะทีทําให้คนมีภารกิจในการดูแลรักษาปาให้มีความยังยืนกิจกรรมตรวจสอบและออกหลักฐานการอนุญาต ให้เข้าทําประโยชน์ในพืนทีปาสงวนแห่งชาติโครงการจัดหาทีดินให้ประชาชนผู้ด้อยโอกาสอย่างทัวถึงและเปนธรรมANNUAL REPORT2024 ตรวจสอบการขออนุญาตเข้าทําประโยชน์ ในพืนทีเปาหมายของกรมปาไม้ในเขตปาสงวนแห่งชาติทีจะดําเนินการจัดทีดินทํากินให้ ประชาชนผู้ยากไร้ตามนโยบายภายใต้คณะกรรมการนโยบายทีดินแห่งชาติ (คทช) จํานวน 14,600 ไร่ 56รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)กิจกรรมหลักปรับปรุง เครืองมือ และกลไกล ในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
โครงการบริหารจัดการทีดินปาไม้อย่างเปนระบบและเปนธรรมANNUAL REPORT2024 ผลการดําเนินงาน สาระสําคัญกิจกรรมจัดระเบียบเพือจัดทีดินทํากินให้ชุมชนในพืนทีปาสงวนแห่งชาติ พืนทีปาสงวนแห่งชาติมีราษฎรครอบครองทํากินกระจายอยู่โดยทัวไปทําให้เกิดความขัดแย้งในการใช้ทรัพยากรทีดินและปาไม้ จากปญหาดังกล่าวจึงจําเปนต้องดําเนินการจัดการทีดินในเขตปาสงวนแห่งชาติอย่างเปนระบบเน้นด้านการอนุรักษ์ควบคู่กับการพัฒนาอย่างยังยืนอยู่บนหลักการลดปญหาความขัดแย้ง แก้ไขปญหาทีดินในพืนทีปาไม้ให้ราษฎรสามารถอยู่ได้อย่างถูกต้อง เปนหลักแหล่ง เหมาะสม และควบคุมมิให้มีการบุกรุกขยายพืนที โดยดําเนินการตามนโยบายของรัฐบาลด้านการจัดทีดินทํากินให้ชุมชนภายใต้คณะกรรมการนโยบายทีดินแห่งชาติ (คทช.) ร่วมสํารวจและตรวจสอบข้อมูลแปลงทีดินของราษฎรในพืนทีปาสงวนแห่งชาติเพือนําไปใช้ในการจัดระเบียบทีดินทํากินให้ชุมชนพืนทีดําเนินการ ท้องทีจังหวัดขอนแก่น 8,980-0-25 ไร่ - ปาสงวนแห่งชาติปาดงซํา 3,526-1-94 ไร่ - ปาสงวนแห่งชาติปาโคกหลวง 5,453-2-31 ไร่57 รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
ANNUAL REPORT2024 ผลการดําเนินงาน ตรวจติดตามการปฏิบัติตามข้อกําหนดการใช้ทีดินของผู้ทีได้รับการจัดทีดิน ตามโครงการจัดทีดินทํากินให้ชุมชน ดําเนินการในพืนทีปาสงวนแห่งชาติปาดงบังอี แปลงทีหนึง ท้องทีจังหวัดมุกดาหาร จํานวน 4,100 ไร่ สาระสําคัญกิจกรรมตรวจติดตามการปฏิบัติตามข้อกําหนดการใช้ทีดินของผู้ได้รับการจัดทีดิน ตามโครงการจัดทีดินทํากินให้ชุมชน พืนทีปาสงวนแห่งชาติมีราษฎรครอบครองทํากิน ทําให้เกิดความขัดแย้งในการใช้ทรัพยากรทีดินและปาไม้ จากปญหาดังกล่าวจึงได้ดําเนินการจัดการทีดินในเขตปาสงวนแห่งชาติอย่างเปนระบบ ด้านการอนุรักษ์ควบคู่กับการพัฒนาอย่างยังยืน ควบคุมมิให้มีการบุกรุกขยายพืนที โดยการอนุญาตให้ราษฎรสามารถอยู่ได้อย่างถูกต้องเปนหลักแหล่งเหมาะสม ดังนัน จึงต้องควบคุมการปฏิบัติให้เปนไปตามเงือนไขและข้อกําหนดการใช้ทีดินตามนโยบายของรัฐบาล ด้านการจัดทีดินทํากินให้ชุมชนภายใต้คณะกรรมการนโยบายทีดินแห่งชาติ (คทช.)58รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
กิจกรรมโครงการบริหารจัดการทีดินปาไม้ทังระบบกิจกรรมหลักปรับปรุง เครืองมือ และกลไกล ในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติANNUAL REPORT2024 ผลการดําเนินงาน สาระสําคัญ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อม (ทส.) ได้เสนอมาตรการแก้ไขปญหาการอยู่อาศัยและทํากินในพืนทีปาไม้ (ทุกประเภท) เพือแก้ไขปญหาทีดินทีมีราษฎรถือครองในเขตพืนทีปาไม้ ในส่วนทีได้นํามาดําเนินการโครงการจัดทีดินทํากินให้ชุมชนตามนโยบายของรัฐบาลได้แก่ พืนทีปาสงวนแห่งชาติในชันคุณภาพลุ่มนํา 1,2 และชันคุณภาพลุ่มนํา 3,4,5 (หลังมติคณะรัฐมนตรี เมือวันที 30 มิถุนายน 2541) เข้าสู่การพิจารณาของคณะกรรมการนโยบายทีดินแห่งชาติ (คทช.) และ คทช.ให้ความเห็นชอบกรอบมาตรการแก้ไขปญหาการอยู่อาศัยและทํากินในพืนทีปาไม้ (ทุกประเภท) ตามที ทส. เสนอในคราวการประชุม คทช. ครังที 2/2561 เมือวันที 18 มิถุนายน 2561 ซึงรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อม ได้มีนโยบายในเชิงรุกให้จัดตังชุดปฏิบัติการ คทช.อําเภอ ในพืนทีปาสงวนแห่งชาติขึน เพือสร้างความเข้าใจให้แก่ราษฎรในการนํามาตรการมาใช้ปฏิบัติ ส่งผลต่อการแก้ไขปญหาการอยู่อาศัยและทํากินในพืนทีปาสงวนแห่งชาติ ให้ประสบความสําเร็จได้ครอบคลุมทัวประเทศกิจกรรมโครงการบริหารจัดการทีดินปาไม้ทังระบบ1. หน่วยปองกันและพัฒนาปาไม้ภูเวียง 2. หน่วยปองกันและพัฒนาปาไม้มัญจาคีรี3. หน่วยปองกันและพัฒนาปาไม้แวงใหญ่4. หน่วยปองกันและพัฒนาปาไม้เขาสวนกวาง5. หน่วยปองกันและพัฒนาปาไม้ภูผาม่าน6. หน่วยปองกันเเละพัฒนาปาไม้ห้วยเม็ก7. หน่วยปองกันและพัฒนาปาไม้ห้วยผึง8. หน่วยปองกันและพัฒนาปาไม้สามชัย9. หน่วยปองกันและพัฒนาปาไม้ท่าคันโท10. หน่วยปองกันและพัฒนากุฉินารายณ์11. หน่วยปองกันและพัฒนาปาไม้กุดรัง12. หน่วยปองกันและพัฒนาปาไม้พนมไพร13. หน่วยปองกันและพัฒนาปาไม้หนองพอก14. หน่วยปองกันเเละพัฒนาปาไม้เมืองมุกดาหาร15. หน่วยปองกันเเละพัฒนาปาไม้หนองสูง16. หน่วยปองกันเเละพัฒนาปาไม้ดงหลวง17. ส่วนจัดการทีดินปาไม้59 รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น) ประสานการดําเนินงานในพืนที คทช.อําเภอ ในพืนทีรับผิดชอบ ดังนี
กิจกรรมโครงการจัดทําแผนการบริหารจัดการทรัพยากรทีดินและปาไม้ระดับพืนทีANNUAL REPORT2024 ผลการดําเนินงาน สาระสําคัญ กรมปาไม้ได้ดําเนินการตามมติคณะรัฐมนตรี เมือวันที 30 มิถุนายน 2541 เรือง การแก้ไขปญหาทีดินในพืนทีปาไม้ โดยการสํารวจแปลงทีดินทีราษฎรเข้าทําประโยชน์และสภาพปาทีคงเหลืออยู่ ตามภาพถ่ายทางอากาศสี (Ortho Photo) ป พ.ศ. 2545 มีผลทําให้ราษฎรได้รับการแก้ไขปญหาเรืองทีอยู่อาศัยทํากินได้ในระดับหนึง โดยการอนุญาตให้ถูกต้องตามกฎหมาย ภายใต้โครงการจัดทีดินทํากินให้ชุมชน (คทช.) ประกอบกับคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมือวันที 26 พฤศจิกายน 2561 เห็นชอบกรอบมาตราแก้ไขปญหาการอยู่อาศัยทํากินในพืนทีปาไม้ทุกประเภท ตามนัยมติคณะกรรมการนโยบายทีดินแห่งชาติ (คทช.) ครังที 2/2561 เมือวันที 18 มิถุนายน 2561 ตามทีกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อมเสนอ เพือแก้ไขปญหาการถือครองทีดินของราษฎรในพืนทีปาสงวนแห่งชาติ สําหรับส่วนทีไม่ได้นํามาดําเนินการจัดทีดินทํากินให้ชุมชน (คทช.) คือ 1. ในพืนทีชันคุณภาพลุ่มนํา 1,2 ก่อนมติคณะรัฐมนตรี เมือวันที 30 มิถุนายน 2541 โดยกรมปาไม้จัดเจ้าหน้าทีเข้าดําเนินการจัดระเบียบการใช้ทีดิน เพือลดผลกระทบต่อสิงแวดล้อม ส่งเสริมการปลูกไม้ 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง ตามแนวพระราชดําริ และรับรองการอยู่อาศัยทํากินให้แก่ราษฎรแบบแปลงรวม 2.พืนทีหลังมติคณะรัฐมนตรี เมือวันที 30 มิถุนายน 2541 ดําเนินการดังนี - พืนทีในชันคุณภาพลุ่มนํา 1,2 ดําเนินการปลูกปาแบบมีส่วนร่วม โดยราษฎร “ผู้ช่วยงานปาไม้” ดูแลรักษาต้นไม้ทีกรมปาไม้ปลูกและให้ใช้ประโยชน์ทีดินระหว่างแถวต้นไม้ได้ - พืนทีในชันคุณภาพลุ่มนํา 3, 4, 5 ราษฏรต้องรวมกลุ่มกันเพือยืนขออนุญาตและดําเนินการปลูกปาเศรษฐกิจร้อยละ 50 ของพืนที การนํามาตรการข้างต้นไม้ไปสู่ปฏิบัติ สามารถดําเนินการโดยจัดทํา “แผนการจัดการทรัพยากรทีดินและปาไม้ระดับพืนที” สํารวจขอบเขตและกําหนดกิจกรรมทีต้องดําเนินการต่อไปตามกรอบมาตรการ1. จัดทําแผนการจัดการทรัพยากรทีดินและปาไม้ระดับพืนที จังหวัดกาฬสินธุ์ จํานวน 111 หมู่บ้าน2. จัดทําแผนการจัดการทรัพยากรทีดินและปาไม้ระดับพืนที จังหวัดขอนแก่น จํานวน 61 หมู่บ้าน3. จัดทําแผนการจัดการทรัพยากรทีดินและปาไม้ระดับพืนที จังหวัดมุกดาหาร จํานวน 32 หมู่บ้าน4. ปลูกปา 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง ท้องทีบ้านคําปากดาว หมู่ที 5 ตําบลคําแคน อําเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น จํานวน 25 ไร่60รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
สาระสําคัญกิจกรรมเร่งรัดดําเนินการ กรณี ส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐ เข้าทําประโยชน์ในพืนทีปาไม้ก่อนได้รับอนุญาต ตามมติคณะรัฐมนตรี เมือวันที 23 มิถุนายน 2563 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อมได้เสนอเรือง การเข้าทําประโยชน์ในพืนทีปาไม้ และขอผ่อนผันมติคณะรัฐมนตรี เมือวันที 8 กรกฎาคม 2523 ในกรณีทีปรากฏว่ายังมีส่วนราชการใดเข้าทําประโยชน์ในพืนทีปาไม้ก่อนได้รับอนุญาต ซึงหน่วยงานทีเกียวข้องได้เสนอความเห็นและข้อเสนอแนะเพือประกอบการพิจารณาของคณะรัฐมนตรี วันที 23 มิถุนายน 2563และคณะรัฐมตรีมีมติว่า1. เห็นชอบตามทีกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อมเสนอ และหากปรากฏว่ายังมีส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐใดเข้าทําประโยชน์ในพืนทีปาไม้ก่อนได้รับอนุญาตอีก ให้พิจารณาดําเนินการตาม กฎหมายอย่างเคร่งครัด ทังกับหน่วยงานเจ้าของโครงการและหน่วยงานทีเกียวข้องทีเปนผู้บังคับใช้กฎหมายทังนี ในส่วนของการยืนคําขออนุญาตเข้าทําประโยชน์ในพืนทีปาไม้ ภายใน 180 วัน นับแต่วันทีคณะรัฐมนตรีมีมติ นัน ให้หัวหน้าส่วนราชการระดับปลัดกระทรวงเปนผู้รวบรวมคําขออนุญาตของหน่วยงานในสังกัดให้ครบถ้วนเพือส่งไปยังกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อม (กรมปาไม้) ต่อไป 2. ให้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อมและหน่วยงานทีเกียวข้องรับความเห็นของกระทรวงการคลัง กระทรวงดิจิทัลเพือเศรษฐกิจและสังคม สํานักนายกรัฐมนตรี (สํานักงานปลัดสํานักนายก รัฐมนตรี) สํานักงบประมาณ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา และสํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ รวมทังข้อเสนอแนะของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมันคงของมนุษย์ไปพิจารณาดําเนินการต่อไป3. ให้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อมและหน่วยงานทีเกียวข้องร่วมกันพิจารณากําหนดวิธีการทีเหมาะสม และไม่ขัดต่อกฎหมายในการดําเนินการกรณีทีส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐเข้าใช้ พืนทีปาไม้เพือทําประโยชน์ในการดําเนินโครงการเกียวกับการพัฒนาระบบโครงสร้างพืนฐาน ด้านโทรคมนาคมและดิจิทัล กรณีที ส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐนําพืนทีปาไม้ทีได้รับอนุญาตไปให้ ภาคเอกชนเข้าใช้ประโยชน์ในพืนทีต่อ/ถือกรรมสิทธิในพืนทีนัน ๆ เพือประกอบกิจการ เช่น ธุรกิจโรงแรมและการท่องเทียว กรณีการตังสํานักสงฆ์ในพืนทีปา และกรณีการนําพืนทีของเกษตรกรทีรัฐอนุญาต ให้เข้าใช้พืนทีไปให้เอกชนเช่าต่อ4. ให้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อมดําเนินการเพิมเติมด้วย ดังนี 4.1 วางแผนและจัดลําดับความสําคัญในการพิจารณาอนุมัติ/อนุญาตโครงการทีได้รับการยกเว้นการปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรี เมือวันที 8 กรกฎาคม 2563 (เรือง การเข้าทําประโยชน์ในพืนทีปาไม้) ในครังนี เพือบรรเทาความเสียหาย ทีอาจเกิดขึนในกรณีทีโครงการต่างๆ จะต้องหยุดการดําเนินการเพือรอผลการพิจารณาอนุมัติ/อนุญาตจากหน่วยงานทีรับผิดชอบ 4.2 ในระยะต่อไป ให้จัดทําแนวทางปฏิบัติในกรณีทีส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือเอกชนจะต้องดําเนินการเพือขออนุมัติ/อนุญาตเข้าใช้ประโยชน์ในพืนทีปาไม้ในแต่ละประเภท ตามกฎหมาย ระเบียบ หลักเกณฑ์และมติคณะรัฐมนตรีทีเกียวข้อง ให้มีความชัดเจน ครบถ้วน เปนปจจุบัน พร้อมทังกําหนดกรอบระยะเวลาของแต่ละขันตอน ทีเกียวข้องกับการอนุมัติ/อนุญาตทังกระบวนการ รวมทังให้พิจารณานําระบบเทคโนโลยีนวัตกรรมทีทันสมัยมาใช้ในการเพิมประสิทธิภาพในกระบวนด้วย5. ให้ส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐทีมีความจําเปนจะต้องดําเนินโครงการในพืนทีปาประเภททต่างๆ ตังแต่ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 เปนต้นไป คํานึงถึงความพร้อมในการดําเนินโครงการอย่างละเอียด รอบคอบให้ถูกต้องเรียบร้อยก่อนเสนอขออนุมัติโครงการ ตามนัยมติคณะรัฐมนตรี เมือวันที 21 มีนาคม 2560 (เรือง การพิจารณาและตรวจสอบความพร้อมในการดําเนินการตามแผนงาน/โครงการของส่วนราชการและการตรวจสอบข้อมูล(ผู้ละทิงงานราชการ) และมติคณะรัฐมนตรี เมือวันที 26 พฤศจิกายน 2562 (เรือง การเร่งรัดการดําเนินงานตามแผนงาน/โครงการของส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐ) เพือปองกันมิให้เกิดกรณีการเสนอขอยกเว้นมติคณะรัฐมนตรีใดๆ ภายหลังจากเริมดําเนินโครงการไปแล้ว61 รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น) ผลการดําเนินงานปาสงวนแหงชาติ ปาตาม พรบ. ปาไมรอยเอ็ด ขอนแกน มหาสารคาม กาฬสินธุ มุกดาหาร05001000150020002500รอยเอ็ด ขอนแกน มหาสารคาม กาฬสินธุ มุกดาหาร0200400600800รอยเอ็ด ขอนแกน มหาสารคาม กาฬสินธุ มุกดาหาร05001000150020002500กราฟแสดงการจําแนกประเภทพืนทีการขอเข้าทําประโยชน์ในพืนทีปาไม้ - การตรวจสอบและพิจารณาคําขออนุญาตใช้ประโยชน์พืนทีปาไม้ ตามคณะรัฐมนตรี เมือวันที 23 มิถุนายน 2563 ให้เปนไปตามทีกฎหมายหมายกําหนดกราฟแสดงการขออนุญาตเข้าทําประโยชน์ในเขตปา พรบ. ปาไม้ 2484กราฟแสดงการขออนุญาตเข้าทําประโยชน์ในเขตปาสงวนแห่งชาติANNUAL REPORT2024
ผลการดําเนินงาน สาระสําคัญกิจกรรมจัดทําแผนทีแนวเขตปาสงวนแห่งชาติแนบท้ายกฎกระทรวงปาสงวนแห่งชาติภายหลังจาก การปรับปรุงแผนทีแนวเขตทีดินของรัฐ แบบบูรณาการ One map ANNUAL REPORT2024 งานอํานวยการและติดตามผลการดําเนินงานในการจัดทําแผนทีแนบท้ายกฎกระทรวงปาสงวนแห่งชาติ ตามมติคณะรัฐมนตรี เมือวันที 10 กุมภาพันธ์ 2565 ได้มีมติเห็นชอบ เรือง ผลการดําเนินการปรับปรุงแผนทีแนวเขตทีดินของรัฐแบบบูรณาการ มาตราส่วน1:4,000 (One Map) และรับรองเส้นแนวเขตทีดินของรัฐ กลุ่มจังหวัดที 1 จํานวน 11 จังหวัด และมติคณะรัฐมนตรี เมือวันที 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 ได้มีมติเห็นชอบเรืองผลการดําเนินการปรับปรุงแผนทีแนวเขตทีดินของรัฐแบบบูรณาการ มาตราส่วน 1:4,000 (One Map) และรับรองเส้นแนวเขตทีดินของรัฐ กลุ่มจังหวัดที 2 จํานวน 11 จังหวัด ให้หน่วยงานทีมีทีดินของรัฐอยู่ในความรับผิดชอบปรับปรุงแก้ไขกฎหมายทีเกียวข้อง ให้สอดคล้องกับผลการดําเนินการปรับปรุงแผนทีแนวเขตทีดินของรัฐแบบบูรณาการ มาตราส่วน 1:4,000 (One Map) โดยใช้แผนทีแนวเขตทีดินของรัฐดังกล่าว ทีคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแล้ว แทนแผนทีแนบท้ายกฎหมายและใช้เปนแนวเขตทีดินของรัฐตามกฎหมายทีเกียวข้องให้แล้วเสร็จภายใน 360 วัน โดยอาจขอขยายระยะเวลาการดําเนินการต่อคณะกรรมการนโยบายทีดินแห่งชาติได้ตามเหตุผล ความจําเปน แต่ไม่เกิน 180 วัน ตามทีสํานักงานคณะกรรมการนโยบายทีดินแห่งชาติเสนอ ให้เปนไปตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 - 2580 ด้านการสร้างการเติบโตคุณภาพชีวิตทีเปนมิตรกับสิงแวดล้อม และด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ในการอนุรักษ์และรักษาทรัพยากรกรรมชาติ สิงแวดล้อมและวัฒนธรรม ให้คนรุ่นต่อไปได้ใช้อย่างยังยืน มีสมดุล ฟนฟู และสร้างฐานทรัพยากรธรรรมชาติและสิงแวดล้อม เพือลดผลกระทบทางลบจากการพัฒนาสังคมเศรษฐกิจของประเทศ รวมไปถึงการลดความเหลือมลํา สร้างความเปนธรรมในทุกมิติ และกระจายการถือครองทีดินและเข้าถึงทรัพยากร รวมทังแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที 12 ได้กําหนดให้มีการเพิมพืนทีปาไม้ เปนร้อยละ 40 ของพืนทีประเทศแบ่งเปนพืนทีปาเพือการอนุรักษ์ ร้อยละ 25 และพืนทีปาเศรษฐกิจ ร้อยละ 15 มีการแก้ไขปญหาการบุกรุกทีดินของรัฐ และลดการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ เพือแก้ไขปญหาความเดือดร้อนและลดความขัดแย้งระหว่างประชาชนกับเจ้าหน้าทีรัฐ เกียวกับปญหาการบุกรุกทีดินของรัฐทีมีมาอย่างยาวนาน กรมปาไม้ได้ตระหนักถึงความสําคัญของการปรับปรุงแผนทีแนวเขตทีดินของรัฐแบบบูรณาการ มาตราส่วน 1:4,000 (One Map) และรับรองเส้นแนวเขตทีดินของรัฐ ของกลุ่มจังหวัดที 1 และ 2 จํานวน 22 จังหวัด ให้แล้วเสร็จภายใน 360 วัน จึงได้จัดทํา “โครงการปรับปรุงแผนทีแนวเขตทีดินของรัฐแบบบูรณาการ มาตราส่วน 1:4,000 (One Map) ในบริเวณพืนทีกลุ่มที 1 และ 2 จํานวน 22 จังหวัด” เพือให้สําเร็จตามกฎหมายทีบังคับไว้ และเพือคนอยู่ร่วมกับปาไม้ได้อย่างยังยืนสืบไป62รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
สาระสําคัญ ผลการดําเนินงานกิจกรรมการจัดทําแนวเขตปาไม้ในพืนทีปาสงวนแห่งชาติANNUAL REPORT2024 การจัดการแนวเขตปาสงวนแห่งชาติทุกปาให้มีความชัดเจน ตามมาตรา 8 แห่งพระราชบัญญัติปาสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 สอดคล้องตามแผนแม่บทแก้ไขปญหาการทําลายทรัพยากรปาไม้ โดยกองอํานวยการรักษาความมันคงภายในราชอาณาจักร (กอ.รมน.) และนโยบายของรัฐบาลในการจัดทําแนวเขตตามโครงการการปรับปรุงแผนทีแนวเขตทีดินของรัฐแบบบูรณาการ มาตราส่วน 1:4,000 (One map) โดยเมือวันที 22 กันยายน 2558 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบแนวทางการปรับปรุงแผนทีแนวเขตทีดินของรัฐแบบบูรณาการ มาตราส่วน 1:4,000 (One Map) พร้อมทังแต่งตังคณะกรรมการดําเนินการปรับปรุงแนวเขตตามข้อเท็จจริง เพือให้ได้เส้นแสดงแนวเขตทีดินของรัฐ แสดงอาณาเขตทีดินครอบคลุมทีดินของทุกหน่วยงานบนแผนทีมาตราส่วน 1:4,000 ทังนี เส้น One Map จะเกิดจากการปรับปรุงแนวเขตทีประกาศตามกฎหมายแนวเขตจริง และแผนทีภาพถ่ายทางอากาศตามห้วงเวลา รวมทังสภาพข้อเท็จจริงในพืนทีจากการสํารวจในภาคสนามเพิมเติม การดําเนินการปรับปรุงแนวเขตทีเปนดิจิทัลไฟล์เสร็จเรียบร้อยแล้ว ต่อมาคณะรัฐมนตรีได้มีมติ เมือวันที 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ได้มีมติเห็นชอบ เรือง ผลการดําเนินการปรับปรุงแผนทีแนวเขตทีดินของรัฐแบบบูรณาการ มาตราส่วน 1:4,000 (One Map) และรับรองเส้นแนวเขตทีดินของรัฐ กลุ่มจังหวัดที 1 จํานวน 11 จังหวัดและให้หน่วยงานทีมีทีดินของรัฐอยู่ในความรับผิดชอบปรับปรุงแก้ไขกฎหมายทีเกียวข้อง ให้สอดคล้องกับผลการดําเนินการปรับปรุงแผนทีแนวเขตทีดินของรัฐแบบบูรณาการ มาตราส่วน 1:4,000 (One Map) โดยใช้แผนทีแนวเขตทีดินของรัฐดังกล่าวทีคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแล้ว แทนแผนทีแนบท้ายกฎหมายและใช้เปนแนวเขตทีดินของรัฐตามกฎหมายทีเกียวข้องให้แล้วเสร็จภายใน 360 วัน โดยอาจขอขยายระยะเวลาการดําเนินการต่อคณะกรรมการนโยบายทีดินแห่งชาติได้ตามเหตุผล ความจําเปน แต่ไม่เกิน 180 วัน ตามทีสํานักงานคณะกรรมการนโยบายทีดินแห่งชาติเสนอ และเปนไปตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 - 2580 ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตทีเปนมิตรกับสิงแวดล้อม รวมไปถึงการลดความเหลือมลําสร้างความเปนธรรมในทุกมิติ และกระจายการถือครองทีดินและเข้าถึงทรัพยากร รวมทังแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที 12 ได้กําหนดให้มีการเพิมพืนทีปาไม้ เปนร้อยละ 40 ของพืนทีประเทศ แบ่งเปนพืนทีปาเพือการอนุรักษ์ ร้อยละ 25 และพืนทีปาเศรษฐกิจ ร้อยละ 15 มีการแก้ไขปญหาการบุกรุกทีดินของรัฐ และลดการสูญเสียความหลายทางชีวภาพ ต่อไป63 รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น) งานอํานวยการและติดตามผลการดําเนินงานในการจัดการแนวเขตปาสงวนแห่งชาติ
กิจกรรมระวังชีแนวเขตปาไม้และการตรวจพิสูจน์ทีดินเพือการถ่ายทอด และรับรองแนวเขตปาสงวนแห่งชาติในพืนทีรับผิดชอบของกรมปาไม้ANNUAL REPORT2024 ผลการดําเนินงาน ด้วยรัฐบาลปจจุบันได้แสดงเจตนารมณ์ทีชัดเจนในการให้ความสําคัญในการปฏิรูปประเทศ เพือให้เกิดความสมดุลในด้านต่าง ๆ และให้ความสําคัญกับการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่าง ๆ เพือขับเคลือนประเทศอย่างเปนรูปธรรม นอกจากนี ได้น้อมนําศาสตร์ของพระราชา มาเปนแนวทางในการจัดทําแผนการปฏิรูปประเทศ โดยยึดหลักการ “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา การใช้หลักวิชาความรู้ทังสมัยใหม่และภูมิปญญาท้องถิน การบูรณการการทํางานระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ทังภาครัฐ เอกชน ชุมชนภายใต้แนวทางประชารัฐ อันจะนําไปสู่การเติบทีเปนมิตรกับสิงแวดล้อมบนวิถีการพัฒนาทียังยืน ในทุกมิติ ซึงเกียวเนืองกับสํานักจัดการทีดินปาไม้ กรมปาไม้ ว่าด้วยการดําเนินการตามบันทึกข้อตกลงระหว่างกรมทีดินและกรมปาไม้ ด้านการตรวจพิสูจน์ทีดินเพือออกโฉนดทีดินหรือหนังสือรับรองการทําประโยชน์ ซึงเกียวกับเขตปาไม้ พ.ศ. 2534 ตามกฎกระทรวง ฉบับที 43 (พ.ศ. 2537) ออกตามความในพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายทีดิน พ.ศ. 2497 และตามมาตรา 61 แห่งประมวลกฎหมายทีดิน ซึงทีผ่านมานันตามบันทึกข้อตกลงดังกล่าว ราชการ และเจ้าหน้าทียังมีความสับสน และปฏิบัติไม่เปนแนวทางเดียวกันอาจทําให้เกิดความเสียการต่อราชการ เจ้าหน้าทีผู้ปฏิบัติและประชาชนทีเกียวข้อง จึงมีความจําเปนต้องดําเนินการกิจกรรมระวังชีแนวเขตปาไม้และการตรวจพิสูจน์ทีดินเพือการถ่ายทอด และรับรองแนวเขตปาสงวนแห่งชาติในพืนทีรับผิดชอบของกรมปาไม้ อันสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทีดินและทรัพยากรดินของประเทศตามยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ป ต่อไป การถ่ายทอดและรับรองแนวเขตปาสงวนแห่งชาติลงในแผนทีมาตราส่วน 1:4,00064รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น) สาระสําคัญ
ผลการปฏิบัติราชการผลการปฏิบัติราชการประจําปงบประมาณประจําปงบประมาณพ.ศ. 2567พ.ศ. 2567ตามพระราชบัญญัติตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายงบประมาณรายจ่าย(งบเบิกแทนกัน)(งบเบิกแทนกัน)ANNUAL REPORT2024
ผลการดําเนินงานจัดสร้างแปลงอนุรักษ์ (แปลง)บํารุงปาใช้สอย(ไร่)750 จังหวัด150 ปลูกปาใช้สอย(ไร่)มุกดาหาร1 สาระสําคัญ เมือวันที 5 กรกฎาคม 2537 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตรได้พระราชทานพระราชดําริเกียวกับงานชลประทาน โครงการพัฒนาพืนทีลุ่มนําห้วยบางทรายตอนบน อันเนืองมาจากพระราชดําริ ตําบลกกตูม อําเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร แก่เจ้าหน้าทีกรมชลประทาน ณ วัดปทุมวนารามราชวรวิหาร สรุปได้ดังนี เห็นควรเปดโครงการพัฒนาพืนทีลุ่มนําห้วยบางทรายตอนบน เนือทีประมาณ102,000 ไร่ โดยมีคณะกรรมการบริหารโครงการฯ ซึงประกอบด้วยผู้แทนส่วนราชการต่างๆ และควรกําหนดพืนทีโครงการฯ ออกเปนเขตให้สอดคล้องกับโครงสร้างพืนฐานทีสามารณ์เอืออํานวยต่อการพัฒนาในรูปแบบต่างๆ ทีเหมาะสม ดังนี คือ เขตพัฒนาอาชีพเสริมเขตพัฒนาการเกษตร และเขตอนุรักษ์และฟนฟูสภาพปา ด้วยสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณ จึงได้น้อมนําแนวคิดทฤษฎีทีได้ทรงพระราชทานเกียวกับการปาไม้ มาเปนหลักในการปฏิบัติงาน เพือให้มีการใช้ประโยชน์พืนทีลุ่มนําดังกล่าวอย่างคุ้มค่า ลดปญหาการขาดแคลนนํา บรรเทาการเกิดอุทกภัย ภัยแล้งอย่างยังยืน ทําให้ประชาชนสามารถดํารงอยู่บนพืนฐานของแนวพระราชดําริเศรษฐกิจพอเพียงและให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตทีดีขึน ด้วยการสนับสนุนให้ความรู้ประชาชนเกียวกับกฎหมายปาไม้ สนับสนุนการปลูกปาต้นนําลําธาร ทฤษฎีการปลูกปาโดยไม่ปลูก การทําแนวกันไฟปาเปยก การส่งเสริมปลูกปาสามอย่างเพือประโยชน์สีอย่าง การนําระบบวเกษตรมาใช้ในงานด้านปาไม้ในรูปแบบของธนาคารอาหารชุมชน (Food bank) เพือเปนแหล่งอาหารให้กับชุมชนลดการพึงพิงทรัพยากรปาไม้ ซึงจะก่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยังยืนและสมดุลต่อไปในอนาคตแผนงานยุทธศาสตร์บริหารจัดการทรัพยากรนําANNUAL REPORT2024ค่าดําเนินการตามแผนปฏิบัติการปองกันแก้ไขและแผนติดตามตรวจสอบผลกระทบสิงแวดล้อมกรุงเทพมหานคร โครงการอ่างเก็บนําห้วยตาเปอะอันเนืองมาจากพระราชดําริ จังหวัดมุกดาหาร66รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
ผลการดําเนินงาน บํารุงรักษาปาปที 3 พืนทีปลูกปาทดแทนตามโครงการทีกรมชลประทานได้รับอนุญาตเข้าใช้ประโยชน์ในเขตปาสงวนแห่งชาติจังหวัดมุกดาหาร จํานวน 1,330 ไร่ ดังนี 1. หน่วยฟนฟูสภาพปาสงวนแห่งชาติ ปาดงภูพาน ที 10 จํานวน 665 ไร่ 2. หน่วยฟนฟูสภาพปาสงวนแห่งชาติ ปาดงภูพาน ที 5 จํานวน 665 ไร่ สาระสําคัญ กรมชลประทาน ได้มีหนังสือ ที กษ 0302/10944 ลงวันที 29 พฤศจิกายน 2566 เรือง ขอโอนเงินงบประมาณให้กรมปาไม้เบิกจ่ายแทน แจ้งขอโอนเงินงบประมาณรายจ่ายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2567 แผนงานยุทธศาสตร์เพือสนับสนุน ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตทีเปนมิตรต่อสิงแวดล้อม โครงการสนับสนุนการบริหารจัดการนําและงานชลประทาน งบลงทุน ทีดินและสิงก่อสร้าง รายการ ค่าดําเนินการตามแผนปฏิบัติการปองกันแก้ไขและแผนติดตามตรวจสอบผลกระทบสิงแวดล้อม กรุงเทพมหานคร เพือบํารุงรักษาปา พืนทีปลูกปาทดแทนตามโครงการทีกรมชลประทานได้รับอนุญาตเข้าใช้ประโยชน์ในเขตปาสงวนแห่งชาติกิจกรรมบํารุงรักษาปา ปที 2-6 จังหวัดมุกดาหารANNUAL REPORT2024แผนยุทธศาสตร์เพือสนับสนุนด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตทีเปนมิตรต่อสิงแวดล้อม โครงการอ่างเก็บนําห้วยตาเปอะอันเนืองมาจากพระราชดําริ จังหวัดมุกดาหารโครงการสนับสนุนการบริหารจัดการนําและงานชลประทาน 67 รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
ผลการดําเนินงาน บํารุงรักษาปาปที 2-6 จํานวน 4,259 ไร่ พืนทีปลูกปาทดแทนตามโครงการทีกรมชลประทานได้รับอนุญาตเข้าใช้ประโยชน์ในเขตปาสงวนแห่งชาติจังหวัดขอนแก่น ดังนี หน่วยฟนฟูสภาพปาตาม พ.ร.บ. ปาไม้ พุทธศักราช 2484 1. (ปาโคกสูง- บ้านดง) ที 15 จํานวน 650 ไร่ 2. หน่วยฟนฟูสภาพปาตาม พ.ร.บ. ปาไม้ พุทธศักราช 2484 (ปาโคกสูงบ้านดง) ที 16 จํานวน 650 ไร่ 3. หน่วยฟนฟูสภาพปาสงวนแห่งชาติ ปาเขาสวนกวาง ที 1 จํานวน 327 ไร่ 4. หน่วยฟนฟูสภาพปาสงวนแห่งชาติ ปาภูเวียง ที 7 จํานวน 600 ไร่ 5. หน่วยฟนฟูสภาพปาสงวนแห่งชาติ ปาภูเวียง ที 8 จํานวน 600 ไร่ 6. หน่วยฟนฟูสภาพปาสงวนแห่งชาติ ปาภูเวียง ที 9 จํานวน 600 ไร่ 7. หน่วยฟนฟูสภาพปาสงวนแห่งชาติ ปาภูเวียง ที 17 จํานวน 550 ไร่ 8. หน่วยฟนฟูสภาพปาสงวนแห่งชาติ ปาภูเวียง ที 18 จํานวน 282 ไร่ ANNUAL REPORT2024แผนยุทธศาสตร์เพือสนับสนุนด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตทีเปนมิตรต่อสิงแวดล้อม ดําเนินการตามแผนปฏิบัติการปองกันแก้ไขและแผนติดตามตรวจสอบผลกระทบสิงแวดล้อม กรุงเทพมหานคร โครงการสนับสนุนการบริหารจัดการนําและงานชลประทาน กิจกรรมบํารุงรักษาปา ปที 2-6 จังหวัดขอนแก่นสาระสําคัญ กรมชลประทาน ได้มีหนังสือ ที กษ 0302/10944 ลงวันที 29 พฤศจิกายน2566 เรือง ขอโอนเงินงบประมาณให้กรมปาไม้เบิกจ่ายแทน แจ้งขอโอนเงินงบประมาณรายจ่ายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2567 แผนงานยุทธศาสตร์เพือสนับสนุนด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตทีเปนมิตรต่อสิงแวดล้อม โครงการสนับสนุนการบริหารจัดการนําและงานชลประทาน งบลงทุน ทีดินและสิงก่อสร้าง รายการ ค่าดําเนินการตามแผนปฏิบัติการปองกันแก้ไขและแผนติดตามตรวจสอบผลกระทบสิงแวดล้อม กรุงเทพมหานคร เพือบํารุงรักษาปา พืนทีปลูกปาทดแทนตามโครงการทีกรมชลประทาน ได้รับอนุญาตเข้าใช้ประโยชน์ในเขตปาสงวนแห่งชาติ68รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
สาระสําคัญ กรมชลประทาน ได้มีหนังสือ ที กษ 0302/10944 ลงวันที 29 พฤศจิกายน 2566เรือง ขอโอนเงินงบประมาณให้กรมปาไม้เบิกจ่ายแทน แจ้งขอโอนเงินงบประมาณรายจ่ายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2567 แผนงานยุทธศาสตร์เพือสนับสนุน ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตทีเปนมิตรต่อสิงแวดล้อม โครงการสนับสนุนนการบริหารจัดการนําและงานชลประทาน งบลงทุน ทีดินและสิงก่อสร้าง รายการ ค่าดําเนินการตามแผนปฏิบัติการปองกันแก้ไขและแผนติดตามตรวจสอบผลกระทบสิงแวดล้อม กรุงเทพมหานคร เพือปลูกปาทดแทนตามโครงการทีกรมชลประทานได้รับอนุญาตเข้าใช้ประโยชน์ในเขตปาสงวนแห่งชาติANNUAL REPORT2024- ผลการดําเนินงาน ปลูกปาทัวไป จํานวน 2,560 ไร่ พืนทีปลูกปาทดแทนตามโครงการทีกรมชลประทานได้รับอนุญาตเข้าใช้ประโยชน์ในเขตปาสงวนแห่งชาติจังหวัดมุกดาหารดังนี 2. หน่วยฟนฟูสภาพปาสงวนแห่งชาติ ปาดงภูพาน ที 8 จํานวน 625 ไร่ 3. หน่วยฟนฟูสภาพปาสงวนแห่งชาติ ปาดงภูพาน ที 9 จํานวน 625 ไร่ 4. หน่วยฟนฟูสภาพปาสงวนแห่งชาติ ปาดงภูพาน ที 10 จํานวน 625 ไร่ แผนยุทธศาสตร์บริหารจัดการนําดําเนินการตามแผนปฏิบัติการปองกันแก้ไขและแผนติดตามตรวจสอบผลกระทบสิงแวดล้อม กรุงเทพมหานคร โครงการสนับสนุนการบริหารจัดการนําและงานชลประทาน กิจกรรมปลูกปาทัวไป จังหวัดมุกดาหาร 1. หน่วยฟนฟูสภาพปาสงวนแห่งชาติ ปาดงภูพาน ที 7 จํานวน 685 ไร่69 รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
ตามหนังสือกรมทางหลวง ที คค 16002/4449 ลงวันที 16 พฤษภาคม 2567เรือง ขอโอนเงินงบประมาณให้กรมปาไม้ แจ้งโอนเงินงบประมาณรายจ่าย ประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2567 รายการค่าใช้จ่ายตามมาตรการสิงแวดล้อม กิจกรรมปลูกปาทดแทนเพือลดผลกระทบสิงแวดล้อม และฟนฟู ทรัพยากรธรรมชาติ จากการก่อสร้างทางหลวงหมายเลข 12 สาย บ.นาโคร้ - อ.คําชะอี ตอน บ.นาไคร้ - อ.หนองสูง เพือปลูกปาทดแทนตามโครงการทีกรมทางหลวงได้รับอนุญาตเข้าใช้ประโยชน์ในเขตปาสงวนแห่งชาติสาระสําคัญ ผลการดําเนินงาน ปลูกปาทัวไป พืนทีปลูกปาทดแทนตามโครงการทีกรมทางหลวงได้รับอนุญาตเข้าใช้ประโยชน์ในเขตปาสงวนแห่งชาติ จังหวัดมุกดาหาร หน่วยฟนฟูสภาพปาสงวนแห่งชาติ ปาดงภูสีฐาน ที 2 จํานวน 80 ไร่ ANNUAL REPORT2024-แผนงานบูรณาการพัฒนาด้านคมนาคมและระบบโลจิสติกส์โครงการก่อสร้างโครงข่ายทางหลวงแผ่นดินกิจกรรมปลูกปาทัวไป จังหวัดมุกดาหาร70รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
ผลการดําเนินงาน บํารุงรักษาปาปที 2-6 พืนทีปลูกปาทดแทนตามโครงการทีกรมการข้าว ได้รับอนุญาตเข้าใช้ประโยชน์ในเขตปาสงวนแห่งชาติ จังหวัดกาฬสินธุ์ หน่วยฟนฟูสภาพปา (ตามมาตรา 25 แห่งพระราชบัญญัติปาสงวนแห่งชาติ พ.ศ.2507 และพืนทีถูกบุกรุก) ที 1 จํานวน 150 ไร่ ตามหนังสือกรมการข้าว ด่วนทีสุด ที กษ 2601/1751 ลงวันที 16 กรกฎาคม 2567 เรือง ขอส่งแบบใบแจ้งการเบิกจ่ายงบประมาณแทนกัน แจ้งอนุมัติโอนจัดสรรงบประมาณแผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่า โครงการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าว เพือเบิกจ่ายแทนกันสําหรับรายการค่าใช้จ่ายในการปลูกปาทดแทน ตามมติคณะรัฐมนตรีเมือวันที 29 มกราคม 2556 ของศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวบึงกาฬ ตําบลดอนหญ้านาง อําเภอพรเจริญ จังหวัดวัดบึงกาฬของศูนย์เมล็ดพันธ์ข้าวนครนายก ตําบลหนองแสง อําเภอปากหลี จังหวัดนครนายก เพือบํารุงรักษาปา แปลงปลูกปาทดแทนตามโครงการทีกรมการข้าวได้รับอนุญาตเข้าใช้ประโยชน์ในเขตปาสงวนแห่งชาติสาระสําคัญANNUAL REPORT2024-แผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่าโครงการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าวกิจกรรมหลักเพิมประสิทธิภาพการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดีกิจกรรมบํารุงปาปที 3 จังหวัดกาฬสินธุ์71 รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
ผลการปฏิบัติราชการผลการปฏิบัติราชการประจําปงบประมาณประจําปงบประมาณพ.ศ. 2567พ.ศ. 2567ตามพระราชบัญญัติตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายงบประมาณรายจ่าย(งบกลาง)(งบกลาง)ANNUAL REPORT2024
แผนงานยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม ANNUAL REPORT2024- กิจกรรมเพาะชําหญ้าแฝก ผลการดําเนินงาน สาระสําคัญ กรมปาไม้มีภารกิจในการบริหารจัดการ อนุรักษ์ สงวน คุ้มครอง ฟนฟู ดูแลรักษา ตลอดจนส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรปาไม้อย่างยังยืนเพือสร้างความสมดุลของระบบนิเวศ ภายใต้แผนบูรณาการและการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน เพือพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนท้องถินให้ดีขึนและสามารถอยู่ร่วมกับปาได้อย่างเกือกูลและยังยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึงการดําเนินงานในด้านการฟนฟูสภาพปาและการพัฒนาคุณภาพชีวิตดังกล่าว กรมปาไม้ได้น้อมนําแนวพรพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระบรมชมกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ในการปลูกหญ้าแฝกเพือการอนุรักษ์ดินและนํา ทีได้ทรงพระราชทานไว้มาดําเนินการร่วมด้วย เพือให้หญ้าแฝกช่วยยึดและปกคลุมดิน ซึงระบบรากของหญ้าแฝกทําหน้าทีเปรียบเสมือนกําแพงใต้ดินทีมีชีวิต ทีช่วยยึดและเพิมความชุ่มชืนให้กับดินโดยดําเนินการปลูกหญ้าแฝก ใน 4 รูปแบบ ดังนี1. การปลูกหญ้าแฝกร่วมกับแปลงฟนฟูสภาพปา2. การปลูกหญ้าแฝกในพืนทีลาดชันและพืนทีเสียงต่อการชะล้างพังทลายของหน้าดิน3. การส่งเสริมการปลูกหญ้าแฝกในแปลงทีทํากินของราษฎร4. การส่งเสริมการปลูกหญ้าแฝกเพือเปนแปลงสาธิตและแหล่งเรียนรู้ นอกจากนียังได้ดําเนินการประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้ คําแนะนําในการปลูกและดูแลรักษาการใช้หญ้าแฝกให้กับหน่วยงานภาครัฐ องค์กรบริหารส่วนท้องถิน ผู้นําชุมชม เกษตรกร เยาวชน และผู้สนใจทัวไป ให้เห็นประโยชน์และคุณค่าของหญ้าแฝก เพือเปนการประชาสัมพันธ์และการรณรงค์การใช้หญ้าแฝกให้เปนไปอย่างแพร่หลาย ดําเนินงานเพาะชําหญ้าแฝก ในพืนทีจังหวัดมุกดาหารและจังหวัดร้อยเอ็ด จํานวน 900,000 กล้า ดังนี 1. โครงการพัฒนาฟนฟูปาไม้บ้านห้วยตาเปอะและพืนทีลุ่มนําห้วยบางทรายตอนบนอันเนืองมาจากพระราชดําริ จํานวน 400,000 กล้า 2. โครงการฟนฟูปาหนองเหมือดแอ่อันเนืองมาจากพระราชดําริ จํานวน 500,000 กล้า73 รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
ผลการปฏิบัติราชการผลการปฏิบัติราชการประจําปงบประมาณประจําปงบประมาณพ.ศ. 2567พ.ศ. 2567เงินนอกงบประมาณเงินนอกงบประมาณANNUAL REPORT2024
สาระสําคัญ ผลการดําเนินงานปฏิบัติงานการปลูกปาและบํารุงปาฟนฟูปาทุกรูปแบบ รวมทังการดูแลรักษาสวนปา ซึงมีพืนทีดําเนินการดังนีจังหวัดขอนแก่น5,009 พืนทีปาได้รับการบํารุงปาปที 2-6 (ไร่)พืนทีปาได้รับการบํารุงปาปที 7-10 (ไร่) พืนทีปาได้รับการปลูกปา (ไร่)660 2,050 460 11,338 มุกดาหารกาฬสินธุ์630 เงินฝากเพือบูรณะทรัพย์สินของกรมปาไม้ รหัส 00770ANNUAL REPORT2024 คณะกรรมการพิจารณาการจ่ายเงินนอกงบประมาณ ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2567 เพือสนับสนุนกิจกรรมบํารุงปาด้วยเงินนอกงบประมาณโดยมีวัตถุประสงค์ เพือฟนฟูสภาพปาทีเสือมโทรมให้กลับคืน ความสมบูรณ์ และรักษาพืนทีปาทีอยู่ใกล้เคียง เพือเสริมสร้างให้ประชาชนหน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชน มีจิตสํานึกและมีส่วนร่วม ในการฟนฟูทรัพยากรบ้าไม้และสิงแวดล้อมของประเทศ เพือสร้างงานและกระจายรายได้ลงสู่ท้องถิน เพือปองกันปญหาการบุกรุกแผ้วถางทําลายนทีปา และปองกันการจับจองพืนทีทํากินในปาเสือมโทรมของราษฎรในพืนทีกิจกรรมปลูกปาและบํารุงปา75 รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
เงินบริจาคทีได้รับจากภาคเอกชนANNUAL REPORT2024- กิจกรรม โครงการรักษ์ปา ปารักชุมชน เปนความร่วมมือระหว่างบริษัท ราช กรุ๊ป (มหาชน) กับกรมปาไม้ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อม โดยเริมดําเนินโครงการฯ ตังแต่ป 2551 มุ่งหวังให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการผืนปา ในรูปแบบปายังยืนชุมชนได้ประโยชน์และเปนแหล่ง ดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ (CarbonSink) พร้อมทังสนองตอบเปาหมายการพัฒนาทียังยืน เปาประสงค์ที 13.3 พัฒนา การศึกษา การสร้างความตระหนักรู้ และขีดความสามารถของมนุษย์และของสถาบันในเรืองการลดป ญหาการเปลียนแปลง สภาพภูมิอากาศ การปรับตัว การลดผลกระทบและการเตือนภัยล่วงหน้า ภายใต้โครงการดังกล่าวบริษัทฯ ได้จัดกิจกรรมประกวดปาชุมชน โดยคัดเลือกชุมชนทุกภูมิภาคของประเทศทีมีการบริหารจัดการปาตามหลักการ “ปายังยืน ชุมชนได้ประโยชน์”อย่างมีประสิทธิภาพ เพือมอบเงินรางวัลให้แก่ชุมชนไปใช้ในการพัฒนา ดูแลรักษาและฟนฟูปาชุมชนให้สมบูรณ์ยิงขึน สาระสําคัญ ผลการดําเนินงาน 1.ผลการคัดเลือกปาชุมชนตัวแทนระดับสํานัก ประเภทรางวัลปาชุมชนชนะเลิศระดับประเทศ คือ ปาชุมชนบ้านหนองบัว หมู่ที 5 ตําบลช้างเผือกอําเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด 2.ผลการคัดเลือกปาชุมชนตัวแทนระดับสํานัก ประเภทรางวัลดีเด่นด้านการพัฒนา คือ 1) ปาชุมชนบ้านหนองบัว หมู่ที 5 ตําบลช้างเผือก อําเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด 2) ปาชุมชนบ้านคลองนําใส หมู่ที 2 ตําบลโชคชัย อําเภอนิคมคําสร้อย จังหวัดมุกดาหาร 3.ผลการคัดเลือกปาชุมชนตัวแทนระดับภาค ประเภทรางวัลปาชุมชนชนะเลิศระดับประเทศ คือ ปาชุมชนบ้านหนองบัว หมู่ที 5 ตําบลช้างเผือกอําเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด 4.ผลการประกวดปาชุมชนถ้วยรางวัลพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโครงการคนรักษ์ ปารักชุมชน ประจําป ๒๕๖๗ รางวัลชนะเลิศระดับประเทศ “คนรักษ์ปา ปารักชุมชน” คือ ปาชุมชนบ้านหนองบัว หมู่ที 5 ตําบลช้างเผือกอําเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด ได้รับถ้วยพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พร้อมเงินรางวัลจํานวน 200,000 บาท และปายประกาศเกียรติคุณ ณ ปาชุมชน76รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
สาระสําคัญ ผลการดําเนินงานพืนทีปลูกปาสงวนแห่งชาติตามพระราชบัญญัติปาสงวนแห่งชาติพ.ศ.2507 ปาตาม พ.ร.บ. ปาไม้ พุทธศักราช 2484 จังหวัดขอนแก่น 1. บํารุงรักษาปาปที 2-6 จํานวน 211 ไร่ 2. บํารุงรักษาปาปที 7-10 จํานวน 252 ไร่ ANNUAL REPORT2024บํารุงรักษาปาปที 2-6 และบํารุงรักษาปาปที 7-10 เงินบริจาคทีได้รับจากภาคเอกชน การดําเนินการปลูกปาในครังนีเปนการดําเนินการตามเงือนไขในการอนุญาต เข้าทําประโยชน์ในพืนทีปาไม้ ของบริษัท เอสส์ (ไทยแลนต์)จํากัด และเปนการปฏิบัติงานตามมาตรการโครงการปองกับและแก้ไขผลกระทบสิงแวดล้อม ซึงกําหนดให้มีการปลูกปาทดแทนในพืนทีและบริษัทฯไม่มีบุคลากรทีมีความรู้ความชํานาญด้านการปลูกปาและบํารุงปา จึงมอมอบให้สํานักจัดการหรัพยากยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น) ดําเนินการปลูกปาทดแทน ซึงในการเข้าไปดําเนินการ ในเขตพืนทีปาไม้ จําเปนต้องปฏิบัติตามมาตรตรา ๑๙ แห่งพระราชบัญญัติปาสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 ซึงอธิบดีกรมปาไม้ เปนผู้มีอํานาจสังการในหนังสือหรือหรือให้พนักงานเจ้าหน้าทีกรมปาใม้กระทําการอย่างใดอย่างหนึงในเขตปาสงวนได้ สํานักฯจึงใด้ขอขอนุมัติโครงการปลูกปาหน่วยฟนฟูสภาพปา ตาม พ.ร.บ. ปาไม้ พุทธศักราช 2484 (ปาโคกสูง-บ้านดง) ที 1 จังหวัดขอนแก่น77 รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
กิจกรรมสําคัญANNUAL REPORT2024
วันปาชุมชนแห่งชาติ ประจําป 2567วันปาชุมชนแห่งชาติANNUAL REPORT2024 เมือวันที 24 พฤษภาคม 2567 เวลา 13:45 น. พลตํารวจเอก พัชรวาท วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อม พร้อมด้วยผู้บริหารกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อม เครือข่ายปาชุมชนและองค์กรภาคีภาคเอกชนทีสนับสนุนการพัฒนาปาชุมชน เข้าร่วมงานวันปาชุมชนแห่งชาติ โดยมี นายบรรณรักษ์ เสริมทอง รองอธิบดีกรมปาไม้ กล่าวรายงานถึงทีมาและวัตถุประสงค์การจัดงานในครังนี ภายในงานมีการจัดนิทรรศการ เพือน้อมรําลึกในพระมหากรุณาธิคุณของสถาบันพระมหากษัตริย์ไทยในด้านการส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรปาไม้ และนิทรรศการให้ความรู้จากหน่วยงานต่าง ๆ ตลอดจนการจัดคลินิกให้คําปรึกษาเกียวกับกฎหมายปาชุมชน รวมถึงการแสดงผลิตภัณฑ์จากเครือข่ายอําเภอห้วยผึง และกรมราชทัณฑ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ณ ห้องทศพร โรงแรมริมปาวอําเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ประจําป 256779 รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น) จัดกิจกรรม โครงการบํารุงรักษาต้นไม้ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนืองในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2567 และกิจกรรมบํารุงรักษาต้นไม้เนืองในวันรักต้นไม้ประจําปของชาติ พ.ศ.2567 ในวันจันทร์ที 21 ตุลาคม พ.ศ. 2567 โดยมี ดร.พงศ์พยัคฆ์ ศรียา ผู้อํานวยการสํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 เปนประธานในพิธี พร้อมด้วยข้าราชการ พนักงานราชการ เจ้าหน้าที ของสํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น) และเยาวชนจากสถานศึกษาภายในจังหวัดขอนแก่น ร่วมกันบํารุงรักษาต้นไม้ พรวนดิน ใส่ปุยคอก และตัดแต่งกิงต้นไม้ ณ บริเวณแปลงปลูกปาวันรักต้นไม้ประจําปของชาติ พ.ศ. 2545 สวนสาธารณะบึงทุ่งสร้าง อําเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่นกิจกรรมวันรักต้นไม้ประจําปของชาติ พ.ศ. 256780รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)ANNUAL REPORT2024
ANNUAL REPORT2024สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น) ดําเนินการจัดพิธีเปด “โครงการ 72 ล้านต้น พลิกฟนผืนปา” เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนืองในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567” ณ หอประชุมทีว่าการอําเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่นโดยมี นายจิรศักดิ สีหามาตย์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดขอนแก่นให้เกียรติมาเปนประธานในพิธี พร้อมด้วยหน่วยงานราชการในจังหวัดขอนแก่น รวมทังสิน 40 หน่วยงาน72 ล้านต้น พลิกฟ นผืนปา81 รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)
วันพุธ ที 13 ธันวาคม 2566 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น) จัดพิธีเจริญพระพุทธมนต์ “พฤกษามหามงคล” โดยนายพงศ์พยัคฆ์ ศรียาผู้อํานวยการสํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 มอบหมายให้ นางกฤษณา จตุรสุขสกุล ผู้อํานวยการส่วนจัดการปาชุมชน เปนประธาน ซึงในงานได้จัดเตรียมกล้าไม้มงคลสําหรับเปนของขวัญ วันขึนปใหม่ พ.ศ.2567 จํานวน 8,000 ต้น มีข้าราชการ พนักงาน และหน่วยงานในสังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อม พร้อมด้วยประชาชนทัวไปเข้าร่วมงานประมาณ 300 คน ณ สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)พิธีเจริญพระพุทธมนต์ “พฤกษามหามงคล”82รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)ANNUAL REPORT2024
งบประมาณรายจ่ายและผลการใช้จ่ายงบประมาณประจําปงบประมาณ พ.ศ.25670.00 10000000.00 20000000.00 30000000.00 40000000.00 50000000.00แผนงานพืนฐานแผนงานยุทธศาสตร์99.6%0.00 10000000.00 20000000.00 30000000.00 40000000.00 50000000.00 60000000.00งบดําเนินงานงบลงทุนงบเงินอุดหนุนงบรายจ่ายอืนแผนงานรวมงบดําเนินงานแผน เบิกจ่ายงบลงทุนแผน เบิกจ่าย8,480,876แผนงานพืนฐานแผนงานยุทธศาสตร์งบเงินอุดหนุนแผน เบิกจ่ายงบรายจ่ายอืนแผน เบิกจ่าย8,480,79640,204,22140,204,1806,115,3006,114,08717,321,51517,321,5156,488,0006,488,0002,230,2002,230,20014,596,17614,594,88357,525,73657,525,6956,488,0006,488,0002,230,2002,230,200เบิกจ่ายคงเหลือ-แบบรายงาน สผส.จ.83 รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)ANNUAL REPORT2024
การประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2567 สรุปคะแนนผลการประเมินส่วนราชการ*หมายเหตุ : การคํานวณคะแนน (คะแนนทีได้) (D) ได้มาจาก1. นําผลการดําเนินงาน (C) เทียบกับเกณฑ์การประเมิน (B) (ถ้าอยู่ในช่วงระหว่าง 2 เปาหมาย ใช้วิธีเทียบบัญญัติไตรยางค์)2. นําคะแนนทีได้จากข้อ 1. คูณกับนําหนักตัวชีวัดนัน ๆ แล้วหารด้วย 100 จะได้คะแนนช่อง (D)3. ผลการดําเนินงานตํากว่าค่าเปาหมายขันต้น จะได้คะแนนเปนศูนย์เกณฑ์การประเมินระดับส่วนราชการ 4 ระดับตัวชีวัดที : 1 อัตราการรอดตายของ ต้นไม้ในพืนทีโครงการ ปลูกปาเศรษฐกิจ25ร้อยละ 90ร้อยละ 92.5ร้อยละ 95- จัดทําคําสังให้เจ้าหน้าทีไปปฏิบัติงาน- ประชุมซักซ้อม เตรียมความพร้อมแก่เจ้าหน้าทีส่งเสริม- วางแผนการลงพืนที และคัดเลือกพืนทีดําเนินงาน- ประชาสัมพันธ์ แนะนํา เชิญชวนเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ- รับสมัคร ตรวจสอบคุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ- จัดทําทะเบียนเกษตรกรทีเข้าร่วมโครงการ- สนับสนุนการรวมกลุ่ม และรณรงค์การสร้างความมีส่วนร่วมของผู้เข้าร่วมโครงการอัตราการรอดตายร้อยละ 98.52100 25 คะแนน(100x 25/100 = 25)ตัวชีวัดที : 2 ร้อยละทีลดลงของจํานวน จุดความร้อน (Hotspot)15จุดความร้อน ลดลงร้อยละ 5 เมือเทียบกับจํานวนจุดความร้อนของปงบประมาณทีมีจุดความร้อนสูงสุดในรอบ 5 ปทีผ่านมา(ไม่เกิน 1,172 จุด)จุดความร้อน ลดลงร้อยละ 13เมือเทียบกับจํานวนจุดความร้อนของปงบประมาณทีมีจุดความร้อนสูงสุดในรอบ 5 ปทีผ่านมา(ไม่เกิน 1,073 จุด)จุดความร้อน ลดลงร้อยละ 20 เมือเทียบกับจํานวนจุดความร้อนของปงบประมาณทีมีจุดความร้อนสูงสุดในรอบ 5 ปทีผ่านมา(ไม่เกิน 986 จุด)990 จุด 7511.25 คะแนน(75 x 15/100 = 11.25)ตัวชีวัดที : 3 การเพิมและพัฒนา พืนทีปาชุมชนตัวชีวัดที : 4 จัดระเบียบเพือจัดทีดินทํา กินให้ชุมชนในพืนทีปา สงวนแห่งชาติตัวชีวัดที : 5 ร้อยละความสําเร็จของ การดําเนินงานตาม แผนการปฏิบัติงาน และแผนการใช้จ่ายงบ ประมาณ พ.ศ. 2567ตัวชีวัดที : 6 ร้อยละของบุคลากรที ได้รับการพัฒนาตาม เกณฑ์ทีกําหนด201515107 ปาชุมชน 12 ปาชุมชน17 ปาชุมชน17 ปาชุมชน10020 คะแนน10 คะแนน100100 15 คะแนน8,980-0-25 ไร่4,360 ไร่4,150 ไร่3,940 ไร่ร้อยละ 60 ร้อยละ 95ร้อยละ 95 ร้อยละ 99.99ร้อยละ 50 ร้อยละ 65 ร้อยละ 80 ร้อยละ 51.20 51.20 7.68 คะแนน88.93สรุปผลรวมระดับมาตรฐานขันสูง100ตัวชีวัดนําหนักตัวชีวัด(ร้อยละ) (A)เปาหมายขันต้น50 คะแนนเปาหมายมาตรฐาน75 คะแนนเปาหมายขันสูง100 คะแนนเกณฑ์การประเมิน (B)ผลการดําเนินงาน(C)คะแนนทีได้(คะแนน)(D)คะแนนถ่วงนําหนัก(E)84รายงานประจําป 2567 สํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7 (ขอนแก่น)ANNUAL REPORT2024
นางสายสุดา นางนัฐกานต์ นางสาวสาธินีนายวีระยุทธ ทีปรึกษาผู้สนับสนุนข้อมูลผู้จัดทํา/เรียบเรียงรายนามคณะผู้จัดทํานางสุจิตรา นางสาวปาณิสรา นางสาวอัจฉริยาภรณ์ นางลดา นางสาวชีรลักษณ์ นางสาวนภาพร นางสาวนิญา นางอรุณีนางพรพิมล นางสาวลลิตา นางขุสุมาลย์ นายพงษ์พยัคฆ์ นายสุมน นายดนัย นายอดิศักดิ นายเชาวฤทธิ นางสาวพรศิริ นายทวี นายครรชิต นายวสันต์ นายดนัย นายปญญา นายพัลลภ นายพรภิรมณ์ ผู้อํานวยการสํานักจัดการทรัพยากรปาไม้ที 7ผู้อํานวยการส่วนอํานวยการผู้อํานวยการส่วนปองกันรักษาปาและควบคุมไฟปาผู้อํานวยการส่วนการอนุญาตผู้อํานวยการส่วนส่งเสริมการปลูกปาผู้อํานวยการส่วนจัดการปาชุมชนผู้อํานวยการส่วนโครงการพระราชดําริและกิจการพิเศษผู้อํานวยการส่วนจัดการทีดินปาไม้ผู้อํานวยการศูนย์ปาไม้ขอนแก่นผู้อํานวยการศูนย์ปาไม้กาฬสินธุ์ผู้อํานวยการศูนย์ปาไม้มหาสารคามผู้อํานวยการศูนย์ปาไม้ร้อยเอ็ดผู้อํานวยการศูนย์ปาไม้มุกดาหารศรียา นําพูลสุขสันติ นิลคูหาภูมิภาค รอบรู้ธิมาไชย แก้วภูมิแห่โล่ห์คํา คนกลาง โคตรุชัย บุตะกะ หนูเสน อุระแสง นักวิชาการปาไม้ชํานาญการ/บรรณาธิการนักวิเคราะห์นโยบายและแผน นักจัดการงานทัวไปเจ้าพนักงานคอมพิวเตอร์นักวิชาการปาไม้ชํานาญการนักวิชาการปาไม้ชํานาญการนักวิชาการปาไม้ชํานาญการนักวิชาการปาไม้ปฏิบัติการนักวิชาการปาไม้ปฏิบัติการนักวิชาการปาไม้ปฏิบัติการนักจัดการงานทัวไปปฏิบัติการเจ้าหน้าทีประชาสัมพันธ์เจ้าหน้าทีปาไม้เจ้าหน้าทีปาไม้เจ้าหน้าทีตรวจปาอ่อนหวานภูทอง บุระมุขโพธินิลสิทธิสารเค้ามิมจันทร์สะอาดโคตรตาแสงเพชรดีวงษ์หนองแล้งแก้วคุณเมืองส่วนส่งเสริมการปลูกปาส่วนส่งเสริมการปลูกปาส่วนปองกันรักษาปาและควบคุมไฟปาส่วนส่งเสริมการปลูกปาส่วนจัดการปาชุมชนส่วนจัดการทีดินปาไม้ส่วนการอนุญาตส่วนจัดการปาชุมชนส่วนโครงการพระราชดําริและกิจการพิเศษส่วนส่งเสริมการปลูกปาส่วนโครงการพระราชดําริและกิจการพิเศษโม้ทอง เฉลิมมีประเสริฐ ทูลไชย อุทัยกัน ANNUAL REPORT2024
ANNUALREPORT 20242567รายงานประจําปเลขที 346 ถ.หน้าศูนย์ราชการ ต.ในเมือง อ.เมืองขอนแก่น จ.ขอนแก่น 40000